แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ บาลีใหญ่ท่ามะโอ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ บาลีใหญ่ท่ามะโอ แสดงบทความทั้งหมด

วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

เรียน ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี อารัมภบท ประโยคที่ ๓-๔

 ประโยคที่ - อารัมภบท

วิปสฺสนานยํ กสฺสํ สีฆํ มคฺคาทิปาปกํ

ทิฏฺเฐ ธมฺเมว สาธูนํ ยถาวุตฺตํ วิปสฺสตนฺติ.

ที่มาของคำศัพท์ตามไวยยากรณ์

วิปสฺสนานยํ => วิปสฺสนา+นย

วิปสฺสนา

๑ น.,อิต. วิปัสสนา อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ฉ.เอก. วิปสฺสนาย แห่งวิปัสสนา แต่ใน ธรรมบทภาค ๑ เรื่องโกสัมพี หน้า ๕๘ เป็นนปุ. วิปสฺสนํ อ. วิปัสสนา

๒ นาม อิตถี กลุ่ม กญฺญา ศัพท์เดิม วิปสฺสนา วิปัสสนา

ปฐมา เอก. อันว่าวิปัสสนา ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

ปฐมา พหุ. อันว่าวิปัสสนา ทั้งหลาย ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ วิปัสสนา ทั้งหลาย คำการร้องเรียก

อาลปนะ

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ วิปัสสนา ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

นย

(ขอจง )นำไป (จง )นำไป (ขอโปรดจง )นำไป

ความปรารถนา การสั่งบังคับให้กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การนิมนต์

กาลอันถูกกล่าวใกล้ ๆ

นีธาตุ + อปจจัย + ปญจมีวิภัตติ ปรัสบทอย่างเดียว เน

ปรัสบท เอก มัชฌิม

๒ การนำไป, นัย

(นิปุพฺพ + สิ เสวายํ ในการเสพ + ) (กัมมสาธนะ)

๓ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม นย นัย

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ นัย คำการร้องเรียก

อาลปนะ

นยํ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม นย นัย

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ นัย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


กสฺส

๑ น.,ปุ. แก่ใคร, ของใคร ศัพท์เดิมเป็น กึ แปลง กึ เป็น ก อ การันต์ในปุงลิงค์ ลง ส จตุตถีวิภัตติ และฉัฏฐีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ แปลง ส เป็น สฺส สำเร็จรูปเป็น กสฺส

๒ น.ปุง. ใคร, อะไร, ไหน

กึสทฺทปทมาลา จตุต ฉัต เอก

๓ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม กสฺส แก่ใคร

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ แก่ใคร คำการร้องเรียก

อาลปนะ

กสฺสํ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม กสฺส แก่ใคร

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ แก่ใคร กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


สีฆ

. . พลัน, เร็ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. สีเฆน (ชเวน) ด้วยฝีเท้า อันเร็ว

. (วิ.) คล่อง, พลัน, ฉับพลัน, เร็ว, ไว, ฉับไว, ว่องไว, ด่วน, เชี่ยว. วิ. เสติ ลหุํ หุตฺวา ปวตฺตตีติ สีฆํ. สิ คติยํ, โฆ, ทีโฆ. .

๓ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม สีฆ ว. เร็ว พลัน

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ว. เร็ว พลัน คำการร้องเรียก

อาลปนะ

สีฆํ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม สีฆ ว. เร็ว พลัน

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ว. เร็ว พลัน กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


มคฺคาทิปาปกํ

อันสามารถยังให้ถึงมรรคผลนิพพาน


ทิฏฺฐ

๑ ก. อัน…เห็นแล้ว ทิส ธาตุ ในความเห็น + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น ฏฺ ลบ ส ที่สุดธาตุ ได้รูป เป็น ทิฏฺ

๒ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม ทิฏฺฐ ก. อัน_เห็นแล้ว

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ก. อัน_เห็นแล้ว คำการร้องเรียก

อาลปนะ

(ปุ.) ความยินดี, ความพอใจล ความแช่มชื่น. ตุสฺ ตุฎฺยํ, โต. แปลง ต เป็น ฎฺ ลบ สฺ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ตฺ เป็น ทฺ.

ทิฏฺเฐ

๑ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม ทิฏฺฐ ก. อัน_เห็นแล้ว

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ก. อัน_เห็นแล้ว ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

สัตตมี เอก. ใน, ใกล้, ที่, ครั้นเมื่อ, ในเพราะ, เหนือ, บน ก. อัน_เห็นแล้ว สถานที่ทำ

พยาปิกาธาระ สมีปาธาระ อาธาระ ลักขณะ เหตวัตถะ อุปสิเลสิกาธาระ อุปสิเลสิกาธาระ

๒ นาม อิตถี กลุ่ม กญฺญา ศัพท์เดิม ทิฏฺฐา ก. อัน_เห็นแล้ว

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ก. อัน_เห็นแล้ว คำการร้องเรียก

อาลปนะ


ธมฺเมว

ธรรมมะ_นั่นเทียว

ธมฺเม+เอว


สาธูนํ

แก่สาธุชน


ยถาวุตฺตํ

ซึ่งประการทั้งปวงที่ได้กล่าวแล้ว

ยถา+วุตฺต


วิปสฺสตนฺติ

วิปสฺสตํ+อิติ ว่า..ผู้เพ่ง..ดังนี้

หลักสนธิ ๔ ข้อ เรื่อง อิติ ศัพท์

. นิคหิต + อิติ ถ้าบทหน้า ท้ายศัพท์เป็นนิคหิต ให้ลบสระ อิ ข้างหลัง แล้วแปลงนิคหิต เป็นวัคคันตะ นฺ

วิปสฺสตนฺติ


แปลยกศัพท์ โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ ตามหนังสือ

กสฺสํ จัก รจนา วิปสฺสนานยํ ซึ่งคัมภีร์อันมีนามว่า วิปัสสนาชุนี (วิปัสสนานัย หลักการวิปัสสนา) มคฺคาทิปาปกํ อันสามารถยังให้ถึงมรรคผลนิพพาน สีฆํ ได้อย่างรวดเร็ว ทิฏฺเฐ ธมฺ+เอว ในอัตภาพปัจจุบันนี้นั่นเทียว สาธูนํ แก่สาธุชน วิปสฺสตผู้เพ่งเพียร ยถาวุตฺตํ ตามนัยที่จะกล่าวในคัมภีร์นี้


ในประโยคเดียวกันได้มี พระอาจารย์ พระคันธสาราภิวงศ์ ในขณะที่ท่านได้ จำพรรษาอยู่ที่ วัดท่ามะโอ จ.ลำปาง ในหนังสือ วิปัสสนานัย เล่มที่ ๑ ได้แปลไว้ได้อย่างงดงามเช่นกัน (ไม่ได้แปลยกศัพท์ไว้) ว่า ดังนี้

อโห พุทฺโธ อโห ธมฺโม อโห สํโฆ อนุตฺตโร

อิติ จิตฺตํ ปหํเสตฺวา วิปสฺสิตฺวา ตทา คเต.

วิปสฺสนานยํ กสฺสํ สีฆํ มคฺคาทิปาปกํ

ทิฏฺเฐ ธมฺเมว สาธูนํ ยถาวุตฺตํ วิปสฺสตนฺติ.


พระพุทธเจ้า เป็นพระบรมศาสดา ผู้สูงสุดน่าอัศจรรย์

พระธรรม เป็นคำสอนสูงสุด น่าอัศจรรย์

พระสงฆ์ พระอริยบุคคล ผู้สูงสุดน่าอัศจรรย์

ข้าพเจ้ากำหนดรู้จิต ที่เบิกบาน และ รูป ที่เกิดร่วมกับจิตในกาลนั้นแล้ว จักแต่ง คัมภีร์วิปัสสนานัย

ซึ่งยังสัตบุรุษ ผู้กำหนดรู้ตามนัย ที่กล่าวไว้ให้ บรรลุมรรคผล และ นิพพาน ในปัจจุบันชาติ โดยพลัน


จากตรงนี้ จึงจะเห็นได้ว่า เนื่องจากข้าพเจ้าเป็นผู้ใหม่ในพระบาลี จึงได้นำหนังสือ วิปัสสนาชุนี ที่มีการแปลยกศัพท์ ประกอบกับ ตำราบาลีไวยากรณ์ จากวัดท่ามะโอ ต.วังเหนือ อ.เมือง จังหวัดลำปาง เทคนิคทำตัวรูปด้วยคอมพิวเตอร์ และ โปรแกรม ThaiNewGendictมาเป็นเอกสารอ้างอิง ในการเรียนรู้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุด



วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

เรียน ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี อารัมภบท ประโยคที่ ๒

 ประโยคที่ อารัมภบท

อิติ จิตฺตํ ปหํเสตฺวา วิปสฺสิตฺวา ตทา คเต.

จิตฺตํ

นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม จิตฺต ใจ

ปฐมา เอก. อันว่าใจ ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ใจ กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

๒ จิต, สภาพที่รู้อารมณ์ (จินฺต + )

ปหํเสตฺวา+หส ธาตุ ร่าเริง +เณ+ตฺวา ให้ร่าเริง ให้เบิกบาน

อิติ เป็น นิ. ว่า_ดังนี้, คือ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยประการ ฉะนี้, ดังนี้แล เป็นนิบาตมีเนื้อความต่างๆ แปลว่า ว่า_ดังนี้

วิปสฺสิตฺวา จักเพ่งกำหนด

ตทา อัพ. ในกาลนั้น, . กาลนั้น มาจาก ต ศัพท์ ลง ทา ปัจจัย สำเร็จรูปเป็น ตทา

คเต

นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม คต ไปแล้ว

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ไปแล้ว ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

สัตตมี เอก. ใน, ใกล้, ที่, ครั้นเมื่อ, ในเพราะ, เหนือ, บน ไปแล้ว สถานที่ทำ

พยาปิกาธาระ สมีปาธาระ อาธาระ ลักขณะ เหตวัตถะ อุปสิเลสิกาธาระ อุปสิเลสิกาธาระ

แปล ประโยคที่ ๒ อารัมภบท

(อหํ - เมื่อข้าพเจ้า) จิตฺตํ - ยังจิต ปหํเสตฺวา – ให้เบิกบาน อิติ - ด้วยพระคุณของพระไตรรัตน์สุดอัศจรรย์เห็นปานนี้แล้ว (เข้าใจว่า ยกบทสรรเสริญ พระพุทธ พระธรรม และ พระ สงฆ์ เข้ามาแปลด้วย) วิปสฺสิตฺวา จักเพ่งกำหนด ตทา คเต – ซึ่งสภาวะธรรม (กล่าวคือจิต และ รูป) ที่กำลังดำเนิน(เป็นอยู่)ในขณะนั้น



วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

เรียน ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี ตอน อารัมภบท บรรทัดที่ ๑

ภาษาบาลี จากหนังสือ วิปัสนาชุนี ตอน อารัมภบท บรรทัดที่ ๑

เกริ่นนำ

เนื่องจาก ข้าพเจ้าเอง มีเวลาค่อนข้างน้อย ด้วยกิจการงาน ประกอบกับ ได้ทำโปรแกรม ดิกชันนารี บารี ThaiNewGenDict แจก ในเวลาก่อนหน้า ซึ่ง เหมาะแก่การใช้เรียนรู้คำศัพท์ บาลี เพื่อให้รวดเร็ว แก่การเรียนรู้ และ ปฏิบัติ ซึ่ง การเรียนบาลี ของตัวข้าเจ้าเอง ไม่ได้ต้องการเพื่อ เป็นนักภาษาศาสตร์ หรือ สอบเอาวุฒิอะไร เพียงแต่ จากประสบการณ์ ที่ได้ทำโปรแกรม ThaiTipitaka แจกฟรี และ ศึกษาพระไตรปิฎก ภาษาไทย พบว่ามีคำทับศัพท์ค่อนข้างมาก จึงพยายาม หา กลอุบาย เพื่อให้ตัวเอง ไม่ต้องห่างจากภาษาบาลี และ การศึกษาธรรม ในขณะที่ยังสามารถทำงานได้แบบไม่บกพร่อง แล้วนำความรู้มาใช้เพื่อการปฏิบัติต่อไป
ดังนั้น เมื่อมาพบ หนังสือ วิปัสสนาชุนี ที่ท่านอาจารย์ จำรูญ ธรรมดา ได้มีการแปลยก ศัพท์ ไว้ดีแล้ว ง่ายแก่การนำมาศึกษาเพิ่มเติม ควบคู่กับโปรแกรม ThaiNewGenDict ก็มีโอกาส ที่ข้าพเอง จะสามารถ เรียนรู้บาลี ได้เร็วขึ้น ใช้เนื้อหาในหนังสือเป็นแรงจูงใจ ในการ เรียนบาลี แบบพร้อมใช้ จึงได้จัดทำรวมไว้ ใน Blog นี้ ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทาง ให้ผู้ศึกษาใหม่ ได้ใช้วิธีการ และ แนวคิดนี้ไปใช้ ซึ่งค่อนข้างมั่นใจว่าเป็นประโยชน์มาก สำหรับทุกท่าน

ผู้รจนา(แต่ง)คัมภีร์วิปัสสนาชุนี

มหาสีสยาดอ มีฉายาว่าโสภณมหาเถระ
เกิดวันศุกร์แรม 3 ค่ำเดือน 8 พ.ศ 2437 ณหมู่บ้านชิดคุณหยั่ว อำเภอเฉว่โผ่ จังหวัดสกาย ประเทศพม่า




ผู้แปล และ เรียบเรียง

ท่านอาจารย์ จำรูญ ธรรมดา



วิปัสนาชุนี ตอน อารัมภบท บรรทัดที่ ๑

อโห พุทฺโธ อโห ธมฺโม    อโห สํโฆ อนุตฺตโร

อโห แปลว่า นิ. โอ เป็นนิบาตมีเนื้อความต่างๆ [ธ. ๓: วิฑูฑภวตฺถุ หน้า ๕]
พุทฺธ ธมฺม สํฆ และ อนุตฺตร ล้วนเป็น อะ การันต์ ทำตัวรูป แบบ ปุริส ดังนั้น

พุทฺโธ ธมฺโม สํโฆ อนุตฺตโร ล้วนเป็น ปฐมา วิภัตติ เอก. วจนะ
โดย อนุตฺตโร เป็น วิเสสนะ แปลว่า ยอดเยี่ยม

ดังนั้น ถ้าแปลแบบย่อๆ (แบบข้าพเจ้าเอง) อโห พุทฺโธ อโห ธมฺโม    อโห สํโฆ อนุตฺตโร
อันว่า พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆเจ้า โอ! ช่างวิเศษเยี่ยมยอดจริงหนอ

ในขณะที่ท่านอาจารย์ จำรูญ ซึ่งท่านมีความรู้ และ นัยยะ ของภาษา ได้ดีกว่าข้าพเจ้า มากมายนัก ได้แปลไว้ในหนังสือ ได้อย่างไพเราะว่า
พุทฺโธ - พระพุทธ อโห อนุตฺตโร ช่างทรงเป็นผู้ประเสริฐสุดไม่มีผู้ใดอื่นยิ่งกว่า
ธมฺโม - พระธรรม อโห อนุตฺตโร ช่างเป็นสิ่งล้ำค่าสูงสุด ไม่มีสิ่งอื่นใดยื่งกว่า
สํโฆ - พระสงฆ์ อโห อนุตฺตโร ช่างเป็นผู้ล้ำเลิศ ไม่มีผู้ใดยิ่งกว่า

วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2563

เลขยกกําลัง จำนวน สิบล้าน ขึ้นไป ใน ภาษาบาลีคืออะไร ในมุมมอง วิศวกร

การวิเคราะห์ เลขบาลี ตั้งแต่ 10 ล้านขึ้นไป ในมุมมอง วิศวกร

ถ้าเข้าใจ ภาษาบาลี จะทำให้เข้าใจ ระบบเลขยกกำลังได้ดีขึ้น
วิทยาศาสตร์ชั้นสูง เริ่มต้นจาก ระบบเลขยกกำลังนี้

สังขยา จำนวน โกฏิ (สิบล้าน) ขึ้นไป แสนของจำนวนนั้นๆ คูณด้วยร้อยเสมอ ดังนี้
สตสหสฺสานํ สตํ โกฏิ อ.ร้อย แห่งแสน ท. ชื่อว่าโกฏิ
100*100,000 = 10,000,000 = 10^(7)

โกฏิสตสหสฺสานํ สตํ ปโกฏิ. อ.ร้อย แห่งแสนโกฏิ ท. ชื่อว่าปโกฏิ.
100*100,000*10^(7) = 10^(7)*10^(7) = 10^(7+7) = 10^(14)

ปโกฏิสตสหสฺสานํ สตํ โกฏิปฺปโกฏิ. อ.ร้อย แห่งแสนปโกฏิ ท. ชื่อว่าโกฏิปฺปโกฏิ.
10^(7)*10^(14) = 10^(7+14) = 10^(21)

โกฏิปฺปโกฏิสตสหสฺสานํ สตํ นหุตํ. อ.ร้อย แห่งแสนโกฏิปโกฏิ ท. ชื่อว่านหุต.
10^(21+7) = 10^(28)

นหุตสตสหสฺสานํ สตํ นินฺนหุตํ. อ.ร้อย แห่งแสนนหุต ท. ชื่อว่านินฺนหุต.
10^(28+7) = 10^(35)

นินฺนหุตสตสหสฺสานํ สตํ อกฺโขภินี. อ.ร้อย แห่งแสนนินนหุต ท. ชื่อว่าอกฺโขภินี.
10^(35+7) = 10^(42)

อกฺโขภินีสตสหสฺสานํ สตํ พินฺทุ. อ.ร้อย แห่งแสนอักโขภินี ท. ชื่อว่าพินฺทุ.
10^(42+7) = 10^(49)

พินฺทุสตสหสฺสานํ สตํ อพฺพุทํ. อ.ร้อย แห่งแสนพินทุ ท. ชื่อว่าอพฺพุท.
10^(56)

อพฺพุทสตสหสฺสานํ สตํ นิรพฺพุทํ. อ.ร้อย แห่งแสนอัพพุทะ ท. ชื่อว่านิรพฺพุท.
10^(63)

นิรพฺพุทสตสหสฺสานํ สตํ อหหํ. อ.ร้อย แห่งแสนนิรัพพุทะ ท. ชื่อว่าอหห.
10^(70)

อหหสตสหสฺสานํ สตํ อพพํ. อ.ร้อย แห่งแสนอหหะ ท. ชื่อว่าอพพ.
10^(77)

อพพสตสหสฺสานํ สตํ อฏฏํ. อ.ร้อย แห่งแสนอพพะ ท. ชื่อว่าอฏฏ.
10^(84)

อฏฏสตสหสฺสานํ สตํ โสคนฺธิกํ. อ.ร้อย แห่งแสนอฏฏะ ท. ชื่อว่าโสคนฺธิก.
10^(91)

โสคนฺธิกสตสหสฺสานํ สตํ อุปฺปลํ. อ.ร้อย แห่งแสนโสคันธิกะ ท. ชื่อว่าอุปฺปล.
10^(98)

อุปฺปลสตสหสฺสานํ สตํ กุมุทํ. อ.ร้อย แห่งแสนอุปปละ ท. ชื่อว่ากุมุท.
10^(105)

กุมุทสตสหสฺสานํ สตํ ปุณฺฑรีกํ. อ.ร้อย แห่งแสนกุมุท ท. ชื่อว่าปุณฺฑรีก.
10^(112)

ปุณฺฑรีกสตสหสฺสานํ สตํ ปทุมํ. อ.ร้อย แห่งแสนปุณฑรีกะ ท. ชื่อว่าปทุม.
10^(119)

ปทุมสตสหสฺสานํ สตํ กถานํ. อ.ร้อย แห่งแสนปทุม ท. ชื่อว่ากถาน.
10^(126)

กถานสตสหสฺสานํ สตํ มหากถานํ. อ.ร้อย แห่งแสนกถานะ ท. ชื่อว่ามหากถาน.
10^(133)

มหากถานสตสหสฺสานํ สตํ อสงฺเขฺยยฺยํ. อ.ร้อย แห่งแสนมหากถานะ ท. ชื่อว่าอสงฺเขฺยยฺย
10^(140)

สรุปจาก ตำราเรียน วัดท่ามะโอ จ.ลำปาง
โดย พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ

(จะมีคลิป วีดีโอ ตามมาในไม่ช้า)




วันพฤหัสบดีที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2563

เรียน บาลี สังขยา การต่อ สังขยา บาลี การนับ ตัวเลข ในภาษาบาลี นับเลขภาษาบาลี ศูนย์ ภาษาบาลี นับเลขบาลี 1-100 กว่าสิบล้าน ขึ้นไป

ปกติสังขยา

การนับ ตัวเลขภาษาบาลี อื่นๆ เช่น หก ภาษาบาลี 

คำอ่านบาลี1 คำอ่านบาลี2 คำอ่านบาลี3 Number คำอ่านเงินตรา Len คำอ่านปกติ ปกติสังขยา ข้อจำกัดการใช้ 1 ข้อจำกัดการใช้ 2 ข้อจำกัดการใช้ 3 ข้อจำกัดการใช้ 4

0 ศูนย์บาทถ้วน 12 ศูนย์




เอก

1 หนึ่งบาทถ้วน 12 หนึ่ง ปกติสังขยา วิเสสนสัพพนาม เอก ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) แปลออกสำเนียง อายตนิบาตแห่งวิภัตติไม่ได้ เอก ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็นได้ ๓ ลิงค์ เอกสังขยา เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
ทฺวิ

2 สองบาทถ้วน 10 สอง ตั้งแต่ ทฺวิ (๒) ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็นพหุวจนะอย่างเดียว
ติ

3 สามบาทถ้วน 10 สาม
จตุ

4 สี่บาทถ้วน 10 สี่
ปญฺจ

5 ห้าบาทถ้วน 10 ห้า


6 หกบาทถ้วน 9 หก
สตฺต

7 เจ็ดบาทถ้วน 11 เจ็ด
อฏฺฐ

8 แปดบาทถ้วน 10 แปด
นว

9 เก้าบาทถ้วน 11 เก้า
ทส

10 สิบบาทถ้วน 10 สิบ
เอกาทส

11 สิบเอ็ดบาทถ้วน 14 สิบเอ็ด
ทฺวาทส พารส
12 สิบสองบาทถ้วน 13 สิบสอง
เตรส

13 สิบสามบาทถ้วน 13 สิบสาม
จตุทฺทส จุทฺทส โจทฺทส 14 สิบสี่บาทถ้วน 13 สิบสี่
ปญฺจทส ปณฺณรส ปนฺนรส 15 สิบห้าบาทถ้วน 13 สิบห้า
โสฬส

16 สิบหกบาทถ้วน 12 สิบหก
สตฺตรส

17 สิบเจ็ดบาทถ้วน 14 สิบเจ็ด
อฏฺฐารส

18 สิบแปดบาทถ้วน 13 สิบแปด
เอกูนวีสติ อูนวีส
19 สิบเก้าบาทถ้วน 14 สิบเก้า เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นอิตถีลิงค์อย่างเดียว เป็นเอกวจนะอย่างเดียว ตั้งแต่ เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
วีส วีสติ
20 ยี่สิบบาทถ้วน 13 ยี่สิบ
เอกวีสติ

21 ยี่สิบเอ็ดบาทถ้วน 17 ยี่สิบเอ็ด
ทฺวาวีสติ พาวีสติ
22 ยี่สิบสองบาทถ้วน 16 ยี่สิบสอง
เตวีสติ

23 ยี่สิบสามบาทถ้วน 16 ยี่สิบสาม
จตุวีสติ

24 ยี่สิบสี่บาทถ้วน 16 ยี่สิบสี่
ปญฺจวีสติ

25 ยี่สิบห้าบาทถ้วน 16 ยี่สิบห้า
ฉพฺพีสติ

26 ยี่สิบหกบาทถ้วน 15 ยี่สิบหก
สตฺตวีสติ

27 ยี่สิบเจ็ดบาทถ้วน 17 ยี่สิบเจ็ด
อฎฺฐวีสติ

28 ยี่สิบแปดบาทถ้วน 16 ยี่สิบแปด
เอกูนตึส อูนตึส
29 ยี่สิบเก้าบาทถ้วน 17 ยี่สิบเก้า
ตึส ตึสติ
30 สามสิบบาทถ้วน 13 สามสิบ
เอกตฺตึส

31 สามสิบเอ็ดบาทถ้วน 17 สามสิบเอ็ด
ทฺวตฺตึส พาตฺตึส
32 สามสิบสองบาทถ้วน 16 สามสิบสอง
เตตฺตึส

33 สามสิบสามบาทถ้วน 16 สามสิบสาม
จตุตฺตึส

34 สามสิบสี่บาทถ้วน 16 สามสิบสี่
ปฺจตฺตึส

35 สามสิบห้าบาทถ้วน 16 สามสิบห้า
ฉตฺตึส

36 สามสิบหกบาทถ้วน 15 สามสิบหก
สตฺตตฺตึส

37 สามสิบเจ็ดบาทถ้วน 17 สามสิบเจ็ด
อฏฺฐตฺตึส

38 สามสิบแปดบาทถ้วน 16 สามสิบแปด
เอกูนจตฺตาฬีส อูนจตฺตาฬีส
39 สามสิบเก้าบาทถ้วน 17 สามสิบเก้า
จตฺตาฬีส ตาลีส
40 สี่สิบบาทถ้วน 13 สี่สิบ
เอกจตฺตาฬีส

41 สี่สิบเอ็ดบาทถ้วน 17 สี่สิบเอ็ด
เทฺวจตฺตาฬีส

42 สี่สิบสองบาทถ้วน 16 สี่สิบสอง
เตจตฺตาฬีส

43 สี่สิบสามบาทถ้วน 16 สี่สิบสาม
จตุจตฺตาฬีส

44 สี่สิบสี่บาทถ้วน 16 สี่สิบสี่
ปฺจจตฺตาฬีส

45 สี่สิบห้าบาทถ้วน 16 สี่สิบห้า
ฉจตฺตาฬีส

46 สี่สิบหกบาทถ้วน 15 สี่สิบหก
สตฺตจตฺตาฬีส

47 สี่สิบเจ็ดบาทถ้วน 17 สี่สิบเจ็ด
อฏฺฐจตฺตาฬีส

48 สี่สิบแปดบาทถ้วน 16 สี่สิบแปด
เอกูนปญฺญาส อูนปญฺญาส
49 สี่สิบเก้าบาทถ้วน 17 สี่สิบเก้า
ปญฺญาส ปณฺณาส
50 ห้าสิบบาทถ้วน 13 ห้าสิบ
สฏฺฐิ

60 หกสิบบาทถ้วน 12 หกสิบ
สตฺตติ

70 เจ็ดสิบบาทถ้วน 14 เจ็ดสิบ
อสีติ

80 แปดสิบบาทถ้วน 13 แปดสิบ
นวุติ

90 เก้าสิบบาทถ้วน 14 เก้าสิบ
สตํ

100 หนึ่งร้อยบาทถ้วน 16 หนึ่งร้อย เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็นนามนาม แปลออกสำเนียงอายตนิบาตแห่งวิภัตติได้ เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็นนปุงสกลิงค์อย่างเดียว ได้ ๒ วจนะ ตั้งแต่ เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็น นปุงสกลิงค์ ได้ ๒ วจนะ
สหสฺสํ

1,000 หนึ่งพันบาทถ้วน 15 หนึ่งพัน
ทสสหสฺสํ

10,000 หนึ่งหมื่นบาทถ้วน 17 หนึ่งหมื่น
สตสหสฺสํ ลกฺขํ
100,000 หนึ่งแสนบาทถ้วน 15 หนึ่งแสน
ทสสตสหสฺสํ

1,000,000 หนึ่งล้านบาทถ้วน 16 หนึ่งล้าน
โกฏิ

10,000,000 สิบล้านบาทถ้วน 14 สิบล้าน โกฏิ เป็นอิตถีลิงค์ ได้ ๒ วจนะ


ตั้งแต่ เอก ถึง จตุ เป็นวิเสสนสัพพนาม
เอก ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) แปลออกสำเนียง อายตนิบาตแห่งวิภัตติไม่ได้
เอก ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็นได้ ๓ ลิงค์
เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นอิตถีลิงค์อย่างเดียว
เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็นนปุงสกลิงค์อย่างเดียว
โกฏิ เป็นอิตถีลิงค์
เอกสังขยา เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
ตั้งแต่ ทฺวิ (๒) ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็นพหุวจนะอย่างเดียว
ตั้งแต่ เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
ตั้งแต่ เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็น นปุงสกลิงค์ ได้ ๒ วจนะ

ปกติสังขยา
เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็นนามนาม แปลออกสำเนียงอายตนิบาตแห่งวิภัตติได้

ปูรณสังขยาทั้งปวง เป็นคุณนาม เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แต่เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
ปูรณสังขยา นับจำนวนที่เต็ม หรือนับตามลำดับ เช่น ที่๑ ที่๒ ที่๓ ...


คาถาแสดงการจำแนกสังขยาโดยลิงค์และวจนะ

ทฺวาทโย อฏฺฐารสนฺตา  ติลิงฺเค พหุวาจกา
วีสตฺยาที นวุตฺยนฺตา  อิตฺถิลิงฺเคกวาจกา
สตาที อสงฺเขฺยยฺยนฺตา นปุํ  สกา ทฺวิวาจกา
โกฏิปฺปภุตฺยกฺโขภิณี  อิตฺถิลิงฺคา ทฺวิวาจกา.

ตั้งแต่ ทฺวิ (๒) ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็น ๓ ลิงค์ พหุวจนะ
ตั้งแต่ เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นอิตถีลิงค์ เอกวจนะ
ตั้งแต่ เอกูนสตํ (๙๙) ถึง อสงฺเขฺยยฺย เป็นนปุงสกลิงค์ ๒ วจนะ
โกฏิ (๑๐ ล้าน), ปโกฏิ (๑๐๐*แสน*๑๐ล้าน), โกฏิปฺปโกฏิ (๑๐๐*แสน*ปโกฏิ), อกฺโขภิณี เป็นอิตถีลิงค์ ๒ วจนะ

นหุตํ (๑๐๐*แสน*โกฏิปฺปโกฏิ)
นินฺนหุตํ (๑๐๐*แสน*นหุตํ)
อกฺโขภิณี (๑๐๐*แสน*นินฺนหุตํ)

กาที ฏาที ยการาที นวสงฺขฺยา ปกาสิตา,
ปญฺจสงฺขฺยา ปการาที สุญฺญา นาม สรญฺญนา.
อักษรมี ก เป็นต้น อักษรมี ฏ เป็นต้น และอักษรมี ย
เป็นต้น ถูกแสดงแล้วว่าเป็นสังขยาตั้งแต่ ๑ - ๙, อักษรมี
ป เป็นต้น ถูกแสดงแล้วว่าเป็นสังขยาตั้งแต่ ๑ - ๕ และ
สระแปดตัว, ญ และ นอักษร ถูกแสดงแล้วว่าชื่อว่าศูนย์

รายละเอียดเพิ่มเติม จาก ดิคบาลี คาถาธรรมบท ๑-๔
อสงฺเขยฺย  ๑ น.,นปุ. อสงไขย แจกเหมือน กุล เช่น  ป. เอก. อสงฺเขยฺยํ อ. อสงไขย คำว่า อสงไขย แปลว่า นับไม่ได้, คำนวณ ไม่ได้ คือระยะเวลายาวนานมากจนนับไม่ได้ ๑ อสงไขย = โกฏิยกกำลัง ๒๐
๒ ว. อันมีอสงไขยเป็นประมาณ ลง ณ ปัจจัยในปริมาณตัทธิต

โกฏิ น.,อิต. ที่สุด,ปลาย แจกเหมือน รตฺติ
๑ โกฏิ = ๑๐ ล้าน

โกฏิ น.,อิต. ที่สุด,ปลาย แจกเหมือน รตฺติ
๑ โกฏิ = ๑๐ ล้าน

จุดสังเกตุ
อูน แปลว่า พร่อง ใช้ใน สังขยา ในภาษาบาลี เช่น โปรดติดตามใน วีดีโอ



สรุปจากตำราเรียน วัดท่ามะโอ

หนังสือไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น-รวม พม.ต่วน พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ
บาลีดิค ThaiNewGenDict คาถาธรรมบท ๑-๔

บันทึกเลขบาลี ลงบาลีดิก แบบฝึกหัด สังขยา นับเลขภาษาบาลี ศูนย์ ภาษาบาลี นับเลขบาลี 1-100 กว่าสิบล้าน