วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564

มงคลสูตร 38 ประการ ขุทฺทกปาเฐ มงฺคลสุตฺตํ ตอนที่ 2

 มงคลสูตร 38 ประการ ขุทฺทกปาเฐ มงฺคลสุตฺตํ  ตอนที่ 2

ปฏิรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา

อตฺตสมฺมาปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ


การอยู่ในประเทศอันสมควร ๑ ความเป็นผู้มีบุญอันกระทำแล้วในกาลก่อน ๑ การตั้งตนไว้ชอบ ๑ นี้เป็นอุดมมงคล (๓ ๖ ๓๘)





ภาษาบาลี คือ อะไร พระพุทธเจ้า ใช้ภาษาอะไร ความเชื่อมโยง อักษร ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก บอกอะไรเราได้บ้าง

 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ภาษาบาลี

บาลี (บาลี: ปาลิ पालि; สันสกฤต: पाळि ปาฬิ); (อังกฤษ: Pali) เป็นไวยากรณ์ที่เก่าแก่แขนงหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้

อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี


จุดเริ่ม การศึกษาที่มาของภาษาบาลี และ ที่มาของคลิปนี้

ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี



การเพิ่ม Font ภาษาบาลี

การเพิ่ม Font ภาษาบาลี

 1. ให้ทำการ เพิ่ม Font

1.1 Download Font บาลี


1.2 แตก Zip ไฟล์ เลือก Font แค่ที่เห็นเป็นชื่อชัดๆก็พอ แล้วทำการ Click ขวา Install for all users




Font แนะนำ Buddhawajana และ BuddhawajanaPali เมื่อต้องการพิมพ์งาน ภาษาบาลีเนื่องจากเห็นชัดทุกระดับ Font และ ภาษาบาลี โดยเฉพาะ ญ ฐ จุดล่าง นิคคหิต ใช้เป็นอักษรบน Keyboard ปกติได้ ไม่ต้องใช้อักษรพิเศษ และ เมื่อ Copy ข้อความจากเอกสาร ไปใช้ที่อื่น เช่น Facebook Line และ อื่นๆ จะไม่มีอักษรขยะ แต่จะมองเห็น เป็น ญ ฐ มีฐานเท่านั้น (กรณีไม่มีจุดล่าง)

1.3 ให้ดำเนินการตรวจสอบ ที่ Control Panel ของ Windows เลือก Locale เป็น ภาษาไทย





วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2564

บาลีไวยากรณ์ จากตำราโบราณ รวมท่อง พร้อมตัวอย่าง กัจจายนะสูตร ครบทั้ง 7 กัณฑ์

 กัจจายนะ

1. สนธิกัณฑ์


2. นามกัณฑ์


3. การกกัณฑ์





4. สมาสกัณฑ์




5. ตัทธิตกัณฑ์





6. อาขยาตกัณฑ์




7. กิพพิธานกัณฑ์




ตัวอย่างการใช้ คัมภีร์ กัจจายนะ ประกอบคำ ในภาษาบาลี