แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ เรียนบาลีใหญ่ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ เรียนบาลีใหญ่ แสดงบทความทั้งหมด

วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2566

ชื่อเดือนภาษาบาลี

 ชื่อเดือนภาษาบาลี

ชื่อเดือนภาษาบาลี ชื่อเดือนไทย แบบพุทธเดิม
ผัคคุณะ                    
จิตตะ                        
เวสาขะ วิสาขะ         
เชฏฐะ                      
อาสาฬหะ
สาวณะ                    
โปฏฐปาทะ, ภัททา ๑๐
อัสสยุชะ                  ๑๑
กัตติกา                    ๑๒
มาคสิระ, มิคสิระ
ผุสสะ                      
มาฆะ                      












วันอังคารที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ภาษาบาลี ร่างกายมนุษย์ ประกอบไปด้วย อวัยวะ 32 (31+1) อย่าง บ้างก็เรียก อาการ 32 กรรมฐาน 32 กอง

 ภาษาบาลี ร่างกายมนุษย์ ประกอบไปด้วย อวัยวะ 32 อย่าง

ภาษาบาลี ร่างกายมนุษย์ ประกอบไปด้วย อวัยวะ 32 ประการ เดิมที มี 31 
คำว่า มตฺถลุงฺคํ เดิมทีนั้นในพุทธสุภาษิตไม่มี เพราะพระพุทธองค์ทรงรวบรวมคำว่า มตฺถลุงฺคํ เยื่อในสมองไว้ในคำว่า อฏฺฐิมิญฺชํ คือ เยื่อในกระดูกแล้ว
ในเวลามีการจัดหมวดหมู่ เป็น 5 กลุ่ม เพื่อให้ท่องได้ง่าย ดังนี้
เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ,
มํสํ นหารู อฏฺฐิ อฏฺฐิมิญฺชํ วกฺกํ,
หทยํ ยกนํ กิโลมกํ ปิหกํ ปปฺผาสํ, 
อนฺตํ อนฺตคุณํ อุทริยํ กรีสํ มตฺถลุงฺคํ, 
ปิตฺตํ เสมฺหํ ปุพฺโพ โลหิตํ เสโท เมโท, 
อสฺสุ วสา เขโฬ สิงฺฆาณิกา ลสิกา มุตฺตนฺติ

แปลความว่า ในร่างกายเรานี้มีส่วนต่างๆ อยู่ คือ

            ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง 
เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม 
หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด 
ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า สมอง
น้ำดี น้ำเสลด น้ำเหลือง เลือด น้ำเหงื่อ น้ำมันข้น
น้ำตา น้ำมันเหลว น้ำลาย น้ำมูก น้ำไขข้อ น้ำมูตร 












วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564

ภาษาบาลี คือ อะไร พระพุทธเจ้า ใช้ภาษาอะไร ความเชื่อมโยง อักษร ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก บอกอะไรเราได้บ้าง

 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ภาษาบาลี

บาลี (บาลี: ปาลิ पालि; สันสกฤต: पाळि ปาฬิ); (อังกฤษ: Pali) เป็นไวยากรณ์ที่เก่าแก่แขนงหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้

อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี


จุดเริ่ม การศึกษาที่มาของภาษาบาลี และ ที่มาของคลิปนี้

ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี



วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2564

บาลีไวยากรณ์ จากตำราโบราณ รวมท่อง พร้อมตัวอย่าง กัจจายนะสูตร ครบทั้ง 7 กัณฑ์

 กัจจายนะ

1. สนธิกัณฑ์


2. นามกัณฑ์


3. การกกัณฑ์





4. สมาสกัณฑ์




5. ตัทธิตกัณฑ์





6. อาขยาตกัณฑ์




7. กิพพิธานกัณฑ์




ตัวอย่างการใช้ คัมภีร์ กัจจายนะ ประกอบคำ ในภาษาบาลี




วันอังคารที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2564

ภาษาบาลี พร้อมความหมาย ทำไมต้องเรียนบาลี กับ วิปัสนาชุนี แค่คำนำก็สนุกแล้ว

วิปัสสนากรรมฐานเบื้องต้น ในวิปัสนาชุนี ภาษาบาลี พร้อมคําแปล

นี่แค่เริ่มต้น กับ หลายคำถาม ที่วิปัสสนาชุนี มีคำตอบ เพื่อคลายข้อสงสัยว่าทำไมจึงต้องศึกษาภาษาบาลี
เพื่อคลายปมในใจ เพื่อให้ใจหนักแน่นไม่คลอนแคลน ก่อนศึกษาพระธรรม และ น้อมนำไปปฏิบัติ
โปรดลด เสียง เมื่อใช้ หูฟัง หรือ เครื่องขยายเสียง (อัดเสียงด้วยไมค์ คุณภาพสูง) 



วันอังคารที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564

ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี ปริเฉทที่ ๑ โอกาสทองกับธรรม อันทรงคุณค่า

โอกาสทองกับธรรม อันทรงคุณค่า

ประโยคเต็มที่ ๒

อชฺเชว กิจฺจมาตปฺปํ โก ชญฺญา มรณํ สุเว

น หิ โน สงฺครํ เตน มหาเสเนน มจฺจุนา

(.อุ. ๑๓/๒๖๒)

คำแปลศัพท์ทีละคำ

อชฺเชว

ในวันนี้นั่นเทียว

อชฺช+เอว

อชฺช อัพ. วันนี้ มาจาก อิม ศัพท์ ลง ชฺช ปัจจัย แปลง อิม เป็น อ สำเร็จรูปเป็น อชฺช ใช้เป็น ประธาน แปลว่า อ. วันนี้ ใช้เป็นสัตตมีวิภัตติ แปลว่า ในวันนี้

กิจฺจมาตปฺปํ

.ความเพียร อันบุคคล พึงกระทำ

กิจฺจํ+อาตปฺปํ

โก

.ปุง. ใคร, อะไร, ไหน

กึสทฺทปทมาลา ปฐมา เอก

ชญฺญา

. พึงรู้, ควรรู้ โดยมีบทวิเคราะห์ว่า

โก ชญฺญา มรณํ สุเว อ.ใคร พึงรู้ ซึ่งความตาย ในวันพรุ่งนี้

มรณํ

นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม มรณ ความตาย

ปฐมา เอก. อันว่าความตาย ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ความตาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

สุเว

ในวันพรุ่งนี้

๑ นิ. ไม่, หามิได้ เป็นนิบาตบอกปฏิเสธ แปล พร้อมกับกิริยาหรือนามศัพท์ ให้แปลว่า ไม่ แปล พร้อมกับกิริยา เช่น น กเถสิ = ไม่กล่าวแล้ว แปล พร้อมกับนามศัพท์ เช่น น จิรสฺส = ต่อกาลไม่นาน ถ้าแปลทีหลังกิริยาหรือนามศัพท์ ให้แปลว่า หามิได้ แปลหลังกิริยา เช่น น กิลมนฺติ = ย่อม ลำบาก หามิได้ แปลหลังนามศัพท์ เช่น น อสฺโส = เป็นม้า หามิได้

๒ แทนเลข ศูนย์

หิ

จริงอยู่ ก็ เพราะว่า ดังจะกล่าวโดยพิสดาร

(อย่างน่าสงสารที่สุด)

นิบาต ได้แก่ (หิ จ) ปน ศัพท์ที่แปลว่า ก็ ซึ่งวางไว้ตำแหน่งที่ ๒ หรือ ๓ ก็ได้

โน

๑ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน

ห้ามเรียงต้นประโยค

อมฺหสทฺทปทมาลา

พหุวจนะ ปฐมา ทุติยา ตติยา จตุตถี ฉัฏฐี

แปลง อมฺห กับวิภัตตินั้น เป็นรูปนั้นๆ

เม, โน เมื่อมีบทอื่นนำหน้า จึงใช้เรียงในประโยคได้

แปลง อมฺห เป็น อสฺม และแปลง นํ วิภัตติเป็น อากํ

๒ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน (อลิงคนาม)

อมฺห สัพ. ปฐมา ทุติยา ตติยา จตุตฐี ฉัฏฐี พหุ

สงฺครํ

๑ ประณีประนอม

๒ ท่านแสดงไว้ในอรรถ ๖ อย่าง คือ () มิตตาการะ การทำตัวเหมือนมิตร () ลัญชทานะ การให้สินบน () พลราสิ หมู่พล () วิปัตติ ความวิบัติ () ยุทธะ การรบ () ปฏิญญา การรับรอง

อ้างอิง

๑ วิปัสสนาชุนี อ.จำรูญ ธรรมดา

๒ อภิธานวรรณา พม.สมปอง มุทิโต

เตน

(อันผู้มีปัญญา อันผู้ฉลาด)นั้น

๒ นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม ต นั้น

ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ

กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)

๓ เพราะเหตุนั้น

๔ เขา ปุริสสัพนาม ต ศัพท์ ปุง ตติยา เอก วจนะ

เขา ปุริสสัพนาม ต ศัพท์ นปุง ตติยา เอก วจนะ

๕ ต ศัพท์ ปุง ศัพท์เดิม ต นั้น

ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ

กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)

๕ ต ศัพท์ นปุง ศัพท์เดิม ต นั้น

ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ

กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)

มหาเสเนน

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม มหาเสน ผู้มีสมุนเสนามากมาย มีบริวารมาก

ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง ผู้มีสมุนเสนามากมาย มีบริวารมาก เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ

กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)

มจฺจุนา

จากความตาย กับพญามัจจุราช

มีบทวิเคราะห์ว่า น เต มุจฺจนฺติ มจฺจุนา อ.สัตว์ ท.เหล่านั้น ย่อมไม่พ้น จากความตาย



แปลประโยคเต็ม โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ ธรรมดา

โก ใครเล่า ชญฺญา จักพึงรู้ (ชีวิตํ วา) มรณํ วา ว่าจักเป็นหรือจักตาย สุเว ในวันพรุ่งนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น กิจฺจํ พึงกระทำ อาตปฺปํ ซึ่งการเจริญวิปัสนา อชฺเชว ในวันนี้เทียว

หิ ด้วยว่า สงฺครํ การประณีประนอม เตน มจฺจุนา กับพญามัจจุราช มหาเสเนน ผู้มีสมุนเสนามากมาย นตฺถิ ย่อมไม่มี โน แก่พวกเรา (ตสฺสมา เพราะเหตุนั้น โก ใครเล่า ชญฺญา จักพึงรู้ สุเว มรณํ ว่าจะตายในวันพรุ่งนี้)




เครดิตภาพยนตร์ พิภพมัจจุราช

วันพุธที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2564

ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี ปริเฉทที่ ๑ คติธรรมกับศีลวิสุทธิ ประโยคเต็มที่ ๑

 ปริเฉทที่ ๑ คติธรรมกับศีลวิสุทธิ ประโยคเต็มที่ ๑

โย สาสนํ อรหตํ อริยานํ ธมฺมชีวินํ

ปฏิกฺโกสติ ทุมฺเมโธ ทิฏฺฐึ นิสฺสาย ปาปิกํ

ผลานิ กฏฺฐกสฺเสว อตฺตฆาตาย ผลฺลติ

โย

๑ ใด อย่าง ทุกอย่าง

คำกลุ่มเดียวกัน โกจิ

+ กึ + จิ สทฺทปทมาลา (ปุงลิงค์) ปฐมา เอก.

กึสทฺทปทมาลา (ใคร, อะไร, ไหน) ปุงลิงค์

กึสทฺทปทมาลา (อะไร, ไหน) นปุงสกลิงค์

๒ นาม ปุง. กลุ่ม ย ศัพท์เดิม ย ใด

ปฐมา เอก. อันว่าใด ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน


สาสนํ

นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม สาสน พระศาสนา ข่าวสาส์น

ปฐมา เอก. อันว่าพระศาสนา ข่าวสาส์น ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ พระศาสนา ข่าวสาส์น กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


อรหตํ

๑ นาม ปุง. กลุ่ม คจฺฉนฺต ศัพท์เดิม อรหนฺต พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส

จตุตถี พหุ. แก่, เพื่อ, ต่อ พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส ทั้งหลาย เป็นผู้รับ

สัมปทาน

ฉัฏฐี พหุ. แห่ง, ของ, เมื่อ พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส ทั้งหลาย แสดงความเป็นเจ้าของ หรือ อาการกริยาการเป็นเจ้าของ

สมูหสัมพันธะ สามีสัมพันธะ อนาทร

๒ นาม นปุง. กลุ่ม คจฺฉนฺต ศัพท์เดิม อรหนฺต พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส

จตุตถี พหุ. แก่, เพื่อ, ต่อ พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส ทั้งหลาย เป็นผู้รับ

สัมปทาน

ฉัฏฐี พหุ. แห่ง, ของ, เมื่อ พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส ทั้งหลาย แสดงความเป็นเจ้าของ หรือ อาการกริยาการเป็นเจ้าของ

สมูหสัมพันธะ สามีสัมพันธะ อนาทร


อริยานํ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม อริย พระอริยเจ้า

จตุตถี พหุ. แก่, เพื่อ, ต่อ พระอริยเจ้า ทั้งหลาย เป็นผู้รับ

สัมปทาน

ฉัฏฐี พหุ. แห่ง, ของ, เมื่อ พระอริยเจ้า ทั้งหลาย แสดงความเป็นเจ้าของ หรือ อาการกริยาการเป็นเจ้าของ

สมูหสัมพันธะ สามีสัมพันธะ อนาทร


ธมฺมชีวินํ

นาม ปุง. กลุ่ม ทณฺฑี ศัพท์เดิม ธมฺมชีวี ผู้มีปกติเป็นอยู่ด้วยธรรม

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ผู้มีปกติเป็นอยู่ด้วยธรรม กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


ปฏิกฺโกสติ

๑ ปฏิ + โกสติ (ย่อมด่าตอบ)

๒ ด่าตอบ คัดค้าน (อยู่) (ย่อม) ด่าตอบ คัดค้าน (จะ) ด่าตอบ คัดค้าน

ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต

ปฏิ (ปติ) อุปสัค + กุสฺ ธาตุในการด่า + + วัตตมานาวิภัตติ ปฏิกฺโกส

ปรัสบท เอก ปฐม


ทุมฺเมโธ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม ทุมฺเมธ ว. ผู้มีปัญญาทราม

ปฐมา เอก. อันว่าว. ผู้มีปัญญาทราม ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน


ทิฏฺฐึ

นาม อิตถี กลุ่ม รตฺติ ศัพท์เดิม ทิฏฺฐิ ความเห็น

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ความเห็น กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


นิสฺสาย

๑ อาศัยแล้ว

นิ + สิ เสวายํ ในการเสพ + ตฺวา

๒ ก. อาศัยแล้ว, เพราะอาศัย, พิง นิ + สี ธาตุ ในความอาศัย + ตูนาทิปัจจัย ซ้อน สฺ หน้า ธาตุ รัสสะ อี แห่ง สี ธาตุ เป็น อิ แปลง อิ เป็น เอ แล้วแปลง เอ เป็น อา แปลงตูนาทิปัจจัยเป็น ย สำเร็จรูปเป็น นิสฺสาย


ปาปิกํ

นาม อิตถี กลุ่ม กญฺญา ศัพท์เดิม ปาปิกา ว. ชั่วช้า

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ว. ชั่วช้า กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


ผลานิ

นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม ผล ผล, ผลไม้

ปฐมา พหุ. อันว่าผล, ผลไม้ ทั้งหลาย ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ผล, ผลไม้ ทั้งหลาย คำการร้องเรียก

อาลปนะ

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ผล, ผลไม้ ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม



กฏฺฐกสฺเสว

กฎฺฐกสฺส + อิว (ราวกับว่า)

กฎฺฐกสฺส ของไม้ (ในที่นี้คือไม้ไผ่ เนื่องจากเป็นผลไม้ชนิดเดียวที่ เมื่อออกดอกแล้ว ต้นจะตายลงไป)


อตฺตฆาตาย

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม อตฺตฆาต ฆ่าตนเอง

จตุตถี เอก. แก่, เพื่อ, ต่อ ฆ่าตนเอง เป็นผู้รับ

สัมปทาน


ผลฺลติ

ให้ผลผลิต

แปลประโยคเต็ม โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ

โย ทุมฺเมโธ ผู้มีปัญญาทรามใด นิสฺสาย อาศัยแล้ว ทิฏฺฐึ ซึ่งความเห็น ปาปิกํ อันชั่วช้า ปฏิกฺโกสติ ย่อมปฏิเสธ สาสนํ ซึ่งคำสอน อรหตํ ของพระพุทธเจ้าผู้ควรกราบไหว้บูชา อริยานํ ผู้ปราศจากกิเลส ธมฺมชีวินํ ผู้เลี้ยงชีพโดยธรรม

ตํ ปฏิกฺโกสานํ จ สา จ ทิฏฺฐิ ก็แล ทั้งการปฏิเสธ และ ความเห็นดังกล่าว ตสฺส ของผู้นั้น โหนฺติ ย่อมเป็น ผลานิ อิว ราวกับว่า ผล(ขุยไผ่) กฏฺฐกสฺส ของไม้ไผ่ (ผลฺเลนตา ที่เผล็ดออกมา อตฺตฆาตาย เพื่อทำลายตนเอง ฉันใด) โส ผู้ปฎิเสธคำสอนนั้น ผลฺลติ ย่อมเผล็ด ตาทิสํ ผลํ ซึ่งผลกล่าวคือทิฏฐิและการกระทำเช่นนั้น อตฺตฆาตาย เพื่อทำลายตนเอง ฉันนั้น



มหาสีสยาดอ


วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

เรียน ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี อารัมภบท ประโยคที่ ๓-๔

 ประโยคที่ - อารัมภบท

วิปสฺสนานยํ กสฺสํ สีฆํ มคฺคาทิปาปกํ

ทิฏฺเฐ ธมฺเมว สาธูนํ ยถาวุตฺตํ วิปสฺสตนฺติ.

ที่มาของคำศัพท์ตามไวยยากรณ์

วิปสฺสนานยํ => วิปสฺสนา+นย

วิปสฺสนา

๑ น.,อิต. วิปัสสนา อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ฉ.เอก. วิปสฺสนาย แห่งวิปัสสนา แต่ใน ธรรมบทภาค ๑ เรื่องโกสัมพี หน้า ๕๘ เป็นนปุ. วิปสฺสนํ อ. วิปัสสนา

๒ นาม อิตถี กลุ่ม กญฺญา ศัพท์เดิม วิปสฺสนา วิปัสสนา

ปฐมา เอก. อันว่าวิปัสสนา ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

ปฐมา พหุ. อันว่าวิปัสสนา ทั้งหลาย ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ วิปัสสนา ทั้งหลาย คำการร้องเรียก

อาลปนะ

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ วิปัสสนา ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

นย

(ขอจง )นำไป (จง )นำไป (ขอโปรดจง )นำไป

ความปรารถนา การสั่งบังคับให้กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การนิมนต์

กาลอันถูกกล่าวใกล้ ๆ

นีธาตุ + อปจจัย + ปญจมีวิภัตติ ปรัสบทอย่างเดียว เน

ปรัสบท เอก มัชฌิม

๒ การนำไป, นัย

(นิปุพฺพ + สิ เสวายํ ในการเสพ + ) (กัมมสาธนะ)

๓ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม นย นัย

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ นัย คำการร้องเรียก

อาลปนะ

นยํ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม นย นัย

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ นัย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


กสฺส

๑ น.,ปุ. แก่ใคร, ของใคร ศัพท์เดิมเป็น กึ แปลง กึ เป็น ก อ การันต์ในปุงลิงค์ ลง ส จตุตถีวิภัตติ และฉัฏฐีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ แปลง ส เป็น สฺส สำเร็จรูปเป็น กสฺส

๒ น.ปุง. ใคร, อะไร, ไหน

กึสทฺทปทมาลา จตุต ฉัต เอก

๓ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม กสฺส แก่ใคร

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ แก่ใคร คำการร้องเรียก

อาลปนะ

กสฺสํ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม กสฺส แก่ใคร

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ แก่ใคร กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


สีฆ

. . พลัน, เร็ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. สีเฆน (ชเวน) ด้วยฝีเท้า อันเร็ว

. (วิ.) คล่อง, พลัน, ฉับพลัน, เร็ว, ไว, ฉับไว, ว่องไว, ด่วน, เชี่ยว. วิ. เสติ ลหุํ หุตฺวา ปวตฺตตีติ สีฆํ. สิ คติยํ, โฆ, ทีโฆ. .

๓ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม สีฆ ว. เร็ว พลัน

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ว. เร็ว พลัน คำการร้องเรียก

อาลปนะ

สีฆํ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม สีฆ ว. เร็ว พลัน

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ว. เร็ว พลัน กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


มคฺคาทิปาปกํ

อันสามารถยังให้ถึงมรรคผลนิพพาน


ทิฏฺฐ

๑ ก. อัน…เห็นแล้ว ทิส ธาตุ ในความเห็น + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น ฏฺ ลบ ส ที่สุดธาตุ ได้รูป เป็น ทิฏฺ

๒ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม ทิฏฺฐ ก. อัน_เห็นแล้ว

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ก. อัน_เห็นแล้ว คำการร้องเรียก

อาลปนะ

(ปุ.) ความยินดี, ความพอใจล ความแช่มชื่น. ตุสฺ ตุฎฺยํ, โต. แปลง ต เป็น ฎฺ ลบ สฺ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ตฺ เป็น ทฺ.

ทิฏฺเฐ

๑ นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม ทิฏฺฐ ก. อัน_เห็นแล้ว

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ก. อัน_เห็นแล้ว ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

สัตตมี เอก. ใน, ใกล้, ที่, ครั้นเมื่อ, ในเพราะ, เหนือ, บน ก. อัน_เห็นแล้ว สถานที่ทำ

พยาปิกาธาระ สมีปาธาระ อาธาระ ลักขณะ เหตวัตถะ อุปสิเลสิกาธาระ อุปสิเลสิกาธาระ

๒ นาม อิตถี กลุ่ม กญฺญา ศัพท์เดิม ทิฏฺฐา ก. อัน_เห็นแล้ว

อาลปนะ เอก. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ก. อัน_เห็นแล้ว คำการร้องเรียก

อาลปนะ


ธมฺเมว

ธรรมมะ_นั่นเทียว

ธมฺเม+เอว


สาธูนํ

แก่สาธุชน


ยถาวุตฺตํ

ซึ่งประการทั้งปวงที่ได้กล่าวแล้ว

ยถา+วุตฺต


วิปสฺสตนฺติ

วิปสฺสตํ+อิติ ว่า..ผู้เพ่ง..ดังนี้

หลักสนธิ ๔ ข้อ เรื่อง อิติ ศัพท์

. นิคหิต + อิติ ถ้าบทหน้า ท้ายศัพท์เป็นนิคหิต ให้ลบสระ อิ ข้างหลัง แล้วแปลงนิคหิต เป็นวัคคันตะ นฺ

วิปสฺสตนฺติ


แปลยกศัพท์ โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ ตามหนังสือ

กสฺสํ จัก รจนา วิปสฺสนานยํ ซึ่งคัมภีร์อันมีนามว่า วิปัสสนาชุนี (วิปัสสนานัย หลักการวิปัสสนา) มคฺคาทิปาปกํ อันสามารถยังให้ถึงมรรคผลนิพพาน สีฆํ ได้อย่างรวดเร็ว ทิฏฺเฐ ธมฺ+เอว ในอัตภาพปัจจุบันนี้นั่นเทียว สาธูนํ แก่สาธุชน วิปสฺสตผู้เพ่งเพียร ยถาวุตฺตํ ตามนัยที่จะกล่าวในคัมภีร์นี้


ในประโยคเดียวกันได้มี พระอาจารย์ พระคันธสาราภิวงศ์ ในขณะที่ท่านได้ จำพรรษาอยู่ที่ วัดท่ามะโอ จ.ลำปาง ในหนังสือ วิปัสสนานัย เล่มที่ ๑ ได้แปลไว้ได้อย่างงดงามเช่นกัน (ไม่ได้แปลยกศัพท์ไว้) ว่า ดังนี้

อโห พุทฺโธ อโห ธมฺโม อโห สํโฆ อนุตฺตโร

อิติ จิตฺตํ ปหํเสตฺวา วิปสฺสิตฺวา ตทา คเต.

วิปสฺสนานยํ กสฺสํ สีฆํ มคฺคาทิปาปกํ

ทิฏฺเฐ ธมฺเมว สาธูนํ ยถาวุตฺตํ วิปสฺสตนฺติ.


พระพุทธเจ้า เป็นพระบรมศาสดา ผู้สูงสุดน่าอัศจรรย์

พระธรรม เป็นคำสอนสูงสุด น่าอัศจรรย์

พระสงฆ์ พระอริยบุคคล ผู้สูงสุดน่าอัศจรรย์

ข้าพเจ้ากำหนดรู้จิต ที่เบิกบาน และ รูป ที่เกิดร่วมกับจิตในกาลนั้นแล้ว จักแต่ง คัมภีร์วิปัสสนานัย

ซึ่งยังสัตบุรุษ ผู้กำหนดรู้ตามนัย ที่กล่าวไว้ให้ บรรลุมรรคผล และ นิพพาน ในปัจจุบันชาติ โดยพลัน


จากตรงนี้ จึงจะเห็นได้ว่า เนื่องจากข้าพเจ้าเป็นผู้ใหม่ในพระบาลี จึงได้นำหนังสือ วิปัสสนาชุนี ที่มีการแปลยกศัพท์ ประกอบกับ ตำราบาลีไวยากรณ์ จากวัดท่ามะโอ ต.วังเหนือ อ.เมือง จังหวัดลำปาง เทคนิคทำตัวรูปด้วยคอมพิวเตอร์ และ โปรแกรม ThaiNewGendictมาเป็นเอกสารอ้างอิง ในการเรียนรู้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุด