วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

อายสฺมา ภคุ คือ ทูรโตว อนฺต ปัจจัย บาลีดิค ติด Search ประโยค แบบฝึกหัด วัดท่ามะโอ

แบบฝึกหัด ประจำวันที่ 2 Apr 2020 ข้อที่ 2

ฝึกแปล ภาษาบาลี

อทฺทสา โข อายสฺมา ภคุ ภควนฺตํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํฯ 
ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาแต่ไกล  
ไม่ใช่ประโยคเดียวกัน จึงต้องแปลแยกประโยค

เพิ่มแปลมาด้วย อปคจฺฉติ, อุปคจฺฉติ, ปุจฺฉติ อาปุจฺฉติ, ปฏิปุจฺฉติ ชานาติ, ปชานาติ, สญฺชานาติ, อนุชานาติ, อภิชานาติ

เฉลย

อทฺทสา โข อายสฺมา ภคุ ภควนฺตํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํฯ
ภคุ อ.พระภิกษุชื่อว่าภคุ อายสฺมา ผู้มีอายุ โข แล อทฺทสา ได้เห็นแล้ว ภควนฺตํ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า อาคจฺฉนฺตํ ผู้เสด็จมาอยู่ ทูรโตว แต่ที่ไกลนั่นเทียว
(โข เป็น นิบาต มีอรรถวจนาลังการะ (ประดับคำ) พม่าไม่นิยมแปล แต่ไทยนิยม แต่ โข นิบาตตัวนี้แปลทีหลังได้ครับ)
สังเกตุการวางบทกรรม และบทวิเสสนะที่มี อนฺต ปัจจัยในประโยคด้วย


อันที่จริงผมเคยอธิบายไว้แล้วนะครับ ว่า อนฺต มาน ปัจจัยวางได้ทั้งข้างหน้าและข้างหลัง
แต่ถ้าบทที่มี อนฺต นั้นเป็นปฐมาอยู่หลังประธาน เรียกอัพภันตรกิริยา, อยฺ่หน้าประธานเรียกว่่า วิเสสนะ
ยกเว้นวิภัตติอื่นให้เรียกว่า วิเสสนะทั้งหมด
สพฺพทิสาสุ คชฺชนฺโต มหาเมโฆ อุฏฐหิ. ป.นี้ คชฺชนฺโต คือ วิเสสนะ ครับ วางหน้า ประธาน
ในหมู่บ้านชื่อว่า

อปคจฺฉติ ก. ไปปราศ, หลีกไป, กระเด็นออก

อุปคจฺฉติ เข้าถึงแล้ว อุป + คม ธาตุ ในความไป,ความถึง มี อุป อยู่หน้า  แปลว่า เข้าถึง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี  อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ รัสสะ อี  เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น อุปคจฺฉิ

ปุจฺฉติ ๑ ย่อมถาม ปุจฺฉ ปุจฺฉเน ในการถาม + อ + ติ

อาปุจฺฉติ ย่อมถาม โดยเอื้อเฟื้อ อา- อาทร + ปุจฺฉ ธาตุ ในความถาม, ความอำลา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตต มานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น อาปุจฺฉติ

ปฏิปุจฺฉติ ถามเฉพาะแล้ว ปฏิ + ปุจฺฉ ธาตุ ในความถาม + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ  อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น ปฏิปุจฺฉิ

ชานาติ
รู้ (อยู่) (ย่อม) รู้ (จะ) รู้
ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต
ญาธาตุ + นาปัจจัย + วัตตมานาวิภัตติ ชานา
ปรัสบท เอก ปฐม

ปชานาติ
รู้โดยประการต่างๆ (อยู่) (ย่อม) รู้โดยประการต่างๆ (จะ) รู้โดยประการต่างๆ
ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต
ปบทหน้า + ญาธาตุ + นาปัจจัย + วัตตมานาวิภัตติ ปชานา
ปรัสบท เอก ปฐม

สญฺชานาติ
จำได้ (อยู่) (ย่อม) จำได้ (จะ) จำได้
ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต
สํบทหน้า + ญาธาตุ + นาปัจจัย + วัตตมานาวิภัตติ สญฺชานา
ปรัสบท เอก ปฐม

อนุชานาติ
ก. (เช่น เสฏฺฐี อ. เศรษฐี) ย่อมอนุญาต  อนุ บทหน้า + ญา ธาตุ ในความรู้ มี อนุ อยู่หน้า  แปลว่า อนุญาต + นา ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ  วัตตมานาวิภัตติ แปลง ญา ธาตุ เป็น ชา สำเร็จรูป เป็น อนุชานาติ

อภิชานาติ ย่อมไม่รู้

โตปัจจัย ลงหลังจากสุทธนามบ้าง หลังสัพพนามบ้าง (๑) เป็นเครื่องหมายตติยาวิภัตติ
แปลว่า “ข้าง..., โดย...”, (๒) เป็นเครื่องหมายปัจมีวิภัตติ แปลว่า “แต่..., จาก...., กว่า...,
เหตุ” และ (๓) เป็นเครื่องหมายสัตตมีวิภัตติ แปลว่า “ใน..., บน...”เป็นต้น ถ้าลงหลังสุทธนาม
แปลออกสำเนียงอายตนิบาตของวิภัตติได้เลย ถ้าลงหลังวิเสสนสัพพนาม เวลาจะแปล ให้โยค
สุทธนามเข้ามาประกอบ จึงจะแปลได้

ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น-รวม พม.ต่วน พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ

ทูรโตว นมสฺสนฺติ ย่อมนอบน้อม แต่ที่ไกลเทียว

รูปสิทธิทีปนี เล่ม 1 พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ




วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ปน แปลว่า ปน หมายถึง ภคุ คือ

ปน แปลว่า ปน หมายถึง ภคุ คือ

ปน แปลว่า ปน หมายถึง มีผู้ค้นหา ไม่มาก ใน Google Search Engine ดังนั้น ทางเพจ จึงได้นำ ประโยคตัวอย่างประโยค ท่ามะโอ มา เสิร์ฟ ให้ถึงบ้าน

แบบฝึกหัด ประจำวันที่ 2 Apr 2020 ข้อที่ 1

1. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา ภคุ พาลกโลณการคาเม วิหรติฯ 
ก็สมัยนั้นแล ท่านพระภคุอยู่ในบ้านพาลกโลณการ

เฉลย

1. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา ภคุ พาลกโลณการคาเม วิหรติฯ
โข ปน ก็แล เตน สมเยน ในสมัยนั้น ภคุ อ.พระภิกษุชื่อว่าภคุ อายสฺมา ผู้มีอายุ วิหรติ ย่อมอาศัยอยู่ พาลกโลณการคาเม ในหมู่บ้านของพาลกโลณการ
(ชื่อทางสัมพันธ์ ปน วากยารัมภโชตกะ โข วจนาลังการะ ในร้อยแก้ว แต้ในร้อยกรอง หรือคาถา เรียกว่า ปทปูรณะ และ สมเยน ตติยากาลสัตตมี)


วันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

กัลยาณมิตร แปลว่า มีกี่ประเภท อะไรบ้าง กลฺยาณกมฺมํ แปลว่า

กัลยาณมิตร แปลว่า มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ภาษาบาลี คำว่า กลฺยาณกมฺมํ แปลว่า

กัลยาณกรรม ซึ่งการผูกมิตร
กลฺยาณ+กมฺมํ
ลักษณะของ กลฺยาณมิตฺต ๗ ประการ (กัลยาณมิตร)
๑ ปิโย เป็นที่รัก
๒ ครุ เป็นครู ที่เคารพ
๓ ภาวนีโย ถูกทำให้เจริญ
๔ วตฺตา พูดเป็น อธิบายชี้แจงข้อสงสัยได้ ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
๕ วจน ขโม เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ (สามารถซักถามได้)
๖ พูดจาแถลงคำพูดที่ลึกซึ้งได้
๗ ไม่ชักจูงไปในทางที่เสียหายไม่เป็นประโยชน์


สุขี แปลว่า ตามหลักบาลีไวยากรณ์ จาก บาลีดิค ThaiNewGenDict

สุขี แปลว่า




คำว่า สุขี ดูเป็นการคุ้นชินมากสำหรับ ภาษาไทย เพราะ ภาษาไทย ได้นำ คำนี้มาจาก ภาษาบาลี ซึ่งในภาษา บาลี ก็แปล ว่าความสุข แต่กรณีที่นำมาใช้แปลบาลี หรือ แต่ประโยค พระบาลีนั้น จะต้อง ถูกต้องตามบาลีไวยากรณ์ ดังจะได้กล่าวถึง ความหมายดังต่อไปนี้

สุขี 
จัดอยู่ในกลุ่มการทำตัวรูปแบบ นาม ปุง. กลุ่ม ทณฺฑี ศัพท์เดิม สุขี ผู้มีความสุข
ปฐมา เอก. อันว่าผู้มีความสุข ประธาน (ทำหน้าที่เป็นประธานในประโยคได้)
สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน (ชื่อสัมพันธ์)
ปฐมา พหุ. อันว่าผู้มีความสุข ทั้งหลาย ประธาน
สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ผู้มีความสุข ทั้งหลาย คำการร้องเรียก (หน้าทีเป็นคำร้องเรียกก็ได้)
อาลปนะ

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ผู้มีความสุข ทั้งหลาย กรรมในประโยค (เป็นกรรม ในประโยค ก็ได้)
อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


วันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

สพฺพํ รสํ ธมฺมรโส ชินาติ อรรถคาถา เป็นการอธิบายความหมายของ พุทธพจน์ ไม่ใช่คำแต่งใหม่ ทำให้ผู้อ่านเข้าใจมากยิ่งขึ้น

บทวิเคราะห์ สพฺพํ รสํ ธมฺมรโส ชินาติ

อันว่ารสพระธรรม ย่อมชนะ ซึ่งรสทั้งหลาย

บทวิเคราะห์ ๑ ถ้าไม่มี อรรถคาถา และ ผู้ขยายความ อรรถคาถา ถึงแม้อ่านบทแปล ก็ยังยากจะเข้าใจ เช่น

สพฺพํ รสํ ธมฺมรโส ชินาติ

แปลแบบตรงตัว เลยคือ อันว่ารสพระธรรม ย่อมชนะ ซึ่งรส ทั้งหลาย

คำถาม
๑ ธมฺมรโส
กรณี เรากล่าว รสพระธรรม "ธมฺมรโส" ตามหลักบาลี ไวยยากรณ์ เป็นคำเอกพจน์ ในขณะที่ (คณะผู้จัดทำ 84000.org ในตัวอย่างนี้) ผู้รู้ สมัยโบราณ ก็ครูบาอาจารย์ สมัยปัจจุบัน โรงเรียนปริยัติธรรม ต่างๆ เป็นต้น จะอธิบาย ได้ ว่า ไม่ใช่ ธรรมหมวดเดียว และ ธรรม ในที่นี้ ประกอบด้วย ธรรมหลายหมวด เช่น โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ และกล่าวคือโลกุตรธรรม ๙ ประการ เป็นต้น ดังรูป


นอกจากนี้ การอธิบาย ของกลุ่มผู้รู้ จะทำให้เราทราบว่า มีธรรมอะไรบ้าง ดังนั้น อรรถคาถา นั้น ไม่ใช่คำแต่งใหม่ ที่มี กลุ่มคนบางกลุ่ม กล่าวอ้างโจมตี

บทวิเคราะห์ ๒ ชินาติ แปลว่าชนะ ใคร? ชนะ ใคร?

กรณีที่เรา ไม่ทราบ พระบาลีบ้าง (เน้นคำว่าบ้าง แบบถูกต้องถึงแม้จะน้อยนิด) กรณีเรา(ไม่ทราบ) ก็จะไม่เข้าใจความหมายประโยคที่ว่า

โย นิรุตฺตึ น สิกฺเขยฺย สิกฺขนฺโต ปิฏกตฺตยํ
ปเท ปเท วิกงฺเขยฺย วเน อนฺธคโช ยถา ฯ
นิรุตติ บ่ ขีดเขียน แต่ไปเพียรเรียนพระไตร
ทุกบท ย่อมสงสัย ดังช้างไพรไร้ดวงตา

ชินาติ ในประโยคนี้ กลุ่มผู้รู้ ใช้ว่า ประเสริฐกว่า ถ้าเทียบในภาษาไทย ถือว่าใช้ ศัพท์ ที่สูงกว่า ชนะ ซึ่งก็หมายความว่า ชนะได้เหมือนกัน ดังนั้น บางสำนัก กล่าวอ้าง เป็นสำนักเดียวที่เผยแผ่ พุทธพจน์ สำนักอื่นบิดเบือนกันหมด  ทั้งๆที่ สำนักตนอ้างอิงแต่ภาษาไทยนั้น ดังนั้น การที่ใช้คำแทน ในภาษาไทย ดังเช่น ในประโยคนี้ จะเห็นได้ว่า
"ผู้เรียนพระบาลี ไม่ใช่เป็นผู้บิดเบือน พุทธพจน์ หรือ แต่งเติมพุทธพจน์ แม้แต่น้อย" 
* (ในภาษาบาลี เรียก "ประโยค" ว่า "วาจก") 

ชี้แจง

รูปด้านล่างนี้ คือ เนื้อความ เทียบเคียง ของโปรแกรมพระไตร ปิฎก ThaiTipitaka กรณีที่เราอ่านพระไตรปิฎก แปล เพียงอย่างเดียว เล่มเดียว เพียงแค่บทแปล เพียงบทเดียว ก็ยังยาก เพราะ การเทียบเคียง พระไตรปิฎก ภาษาบาลี และ ภาษาไทยนั้น เป็นการเทียบเคียง ข้อ ในพระไตรปิฎก ดังนั้น กว่าจะหาความหมายคำ หรือ ความหมายของประโยค สั้นๆ เพียงประโยคเดียว ยากยิ่ง ถ้าไม่ได้เรียนพระบาลี บ้าง (เน้นคำว่า บ้าง)



จากจุดนี้ จึงเป็นที่มา ในยุคปัจจุบัน จึงมี โรงเรียน ปริยัตติธรรม เกิดขึ้น มากมาย ทั้งเป็นที่นิยม และ ไม่เป็นที่นิยม โดยที่ทุกสำนักที่มีความรู้ถึงขั้นถูกต้องในธรรมแล้ว ล้วนแต่มีความเห็นเป็นหนึ่งเดียว ในภาพรวมเพราะเข้าใจในบทบาลี ที่ถ่องแท้ จากตำราโบราณ

ขอธรรมมะ สวัสดี จงมีแด่ทุกท่านที่มี ธรรมมะ เพื่อการ ปล่อยวาง

วันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

บาลีไวยากรณ์ จาก บาลีดิค ฝึกแปล ตอน อิติ แปลว่า ว่า และ ตฺวา ปัจจัย ที่อยู่หลัง อิติ ศัพท์

แบบฝึกหัด แปล บาลีไวยากรณ์ วัดท่ามะโอ

บาลีไวยากรณ์ จาก บาลีดิค ฝึกแปล ตอน อิติ แปลว่า ว่า และ ตฺวา ปัจจัย ที่อยู่หลัง อิติ ศัพท์

ฝึกแปลประโยคบาลี

อญฺญตโร  ปุริโส  / ภทฺเท อชฺชาหํ  อิมํ รตฺตึ กมฺมํ  กริสฺสามีติ วตฺวา / คจฺฉ สามีติ (วจเน ภริยาย ) วุตฺเต /อตฺตโน  กมฺมกรณฏฺฐานํ อคจฺฉิ. 
ที่วงเล็บไว้ว่า (วจเน ภริยาย )วุตฺเต  เมื่อใช้จริงไม่นิยมวางถือว่ารู้กันว่าเป็นประโยคลักขณะ ลงสัตตมีวิภัตติแปลว่า ครั้นเมื่อ แปลเช่นนี้ว่า วจเน ครั้นเมื่อคำ อันภรรยา กล่าวแล้วว่า...คือ  ประโยคเแทรกๆ เข้ามาช่วงไหนก็แปลช่วงนั้นได้เลย  ทำเครื่องหมาย  / ไว้จะได้กำหนดการแปลง่ายขึ้น

เฉลย

อญฺญตโร ปุริโส  ภทฺเท อชฺชาหํ อิมํ รตฺตึ กมฺมํ กริสฺสามีติ วตฺวา  คจฺฉ  สามีติ (วจเน ภริยาย )  วุตฺเต  อตฺตโน กมฺมกรณฏฺฐานํ อคจฺฉิ.

ปุริโส อ.บุรุษ  อญฺญตโร ผู้ใดผู้หนึ่ง วตฺวา กล่าวแล้ว อิติ ว่า ภทฺเท แน่ะนางผู้เจริญ อชฺช ในวันนี้ อหํ อ. เรา กริสฺสามิ จักกระทำ กมฺมํ ซึ่งการงาน อิมํ รตฺตึ ตลอดคืนนี้ ดังนี้
วจเน ครั้นเมื่อคำ อิติ ว่า สามิ ข้าแต่สามี ตวํ อ.ท่าน คจฺฉ จงไปเถิด ดังนี้ ภริยาย อันภรรยา วุตฺเต กล่าวแล้ว  
อคจฺฉิ ได้ไปแล้ว กมฺมกรณฏฺฐานํ สู่ที่เป็นที่กระทำซึ่งงาน อตฺตโน ของตน

ที่ทำเครื่องหมาย / ไว้ในตอนถามก็เพื่อให้รู้ว่าประโยคส่วนไหนอยู่ในห้อง ส่วนไหนอยู่นอกห้อง (ประโยคเลขใน เลขนอก) แม้การแปลก็กำหนดตามที่ขีดไว้ และประโยคที่ใช้ในสถานการณ์จริงมักวาง วุตฺเต ไว้เพียงศัพท์เดียว ถือว่ารู้กัน แต่เวลาแปลต้องโยคเข้ามาตามเนื้อหานั้น ๆ ขึ้นอยู่กับบริบทด้วยครับ
บทที่ประกอบด้วย ตฺวา ปัจจัยก็ดี อนฺต มาน ปัจจัยก็ดี หรือประโยคแทรกที่ประกอบด้วยฉัฏฐีหริอสัตตมีวิภัตติ กล่าวได้ว่ายังไม่จบประโยค จึงไม่ควรขึ้นบทประธานอื่นเข้ามาแปลร่วม เพราะจะทำให้ความหมายขัดแย้งกัน

ดังนั้น บทที่ประกอบด้วย ตฺวา, อนฺต, มาน หรือ ต ปัจจัย ที่อยู่หลัง อิติ ศัพท์มักเป็นประโยคนอกห้อง ซึ่งประโยคนอกห้องต้องแปลก่อนแล้วเปิด อิติ ศัพท์เข้าไปแปลประโยคในห้องจนครบ แล้วเพิ่มคำว่า ดังนี้ หรือ ดังนี้เป็นต้น เข้ามา (ซึ่งเป็นเนื้อหาที่ละไว้ส่วนมากเกี่ยวกับคาถา) แปลอย่างนี้เป็นทอดๆ จนจบประโยค (ดูที่กิริยาคุมพากย์เป็นหลัก อาจเป็นอาขยาต หรือกิตก์)

คำศัพท์ที่ให้นั้น ควรแยกเฉพาะ ธาตุ ปัจจัย วิภัตติ ก็พอ ถ้าบอกขั้นตอนการทำตัวรูปอาจทำให้สับสน เพราะสนามหลวงก็มีขั้นตอนการทำตัวรูปเฉพาะตน (ดังเช่น คจฺฉติ มาจาก คมฺ ธาตุ+อ+ติ แปลงเป็น คจฺฉ สำเร็จรูป) ส่วนมูลกัจจายน์ซึ่งมีปทรูปสิทฺธิเป็นต้นก็มีการทำตัวรูปอีกลักษณะหนึ่งโดยมีการอ้างสูตรเป็นหลักฐาน ถ้านำมาปนกัน หลายๆ ท่านด้วยกันอาจเป็นงง? เช่น คจฺฉติ มาจาก คมุ ธาตุ+อ+ติ ทำตัวรูปโดย ลบสระที่สุดธาตุ ลง ติวิภัตติหลังคมฺ  ลง อ ปัจจัย แปลง มฺ เป็น จฺฉฺ ด้วย คมิสฺสนฺโต จฺโฉ วา สพฺพาสุ นำ ฉฺประกอบกับ อ สำเร็จรูปเป็น คจฺฉติ)

ถ้ายกมาแสดงควรเป็นมูลกัจจายน์ โดยเฉพาะมูลธาตุเดิม กมุ, คมุ (สนามหลวงบอก กมฺ, คมฺ) เป็นต้น

อธิตจฺฉติ แปลว่า ได้, ถึง บรรลุ, ปจฺจาคจฺฉติ กลับมา, อุคฺคจฺฉติ ขึ้น เอาความหมายที่ใช้บ่อยๆ ก่อนนะครับ พจนานุกรมมีหลายความหมายมากกลัวจะอึดอัดสับสนจับต้นชนปลายไม่ถูก

Short Note จากวีดีโอ

อญฺญตโร ปุริโส  ภทฺเท อชฺชาหํ อิมํ รตฺตึ กมฺมํ กริสฺสามีติ วตฺวา  คจฺฉ  สามีติ (วจเน ภริยาย )  วุตฺเต  อตฺตโน กมฺมกรณฏฺฐานํ อคจฺฉิ

อญฺญตโร คนใดคนหนึ่ง ปุริโส บุรุษ ปฐมา
ภทฺเท แน่ะนางผู้เจริญ
อชฺชาหํ อชฺช กับ อหํ วันนี้ข้าพเจ้า
อิมํ ทุติยา นี้
รตฺตึ ตลอดกลางคืน
กมฺมํ ซึ่งการงาน
กริสฺสามีติ กริสฺสามิ+อิติ จักกระทำ
วตฺวา กล่าวแล้ว

ปุริโส อ.บุรุษ อญฺญตโร ผู้หนึ่ง วตฺวา กล่าวแล้ว อิติ ว่า ภทฺเท แน่ะนางผู้เจริญ อชฺชาหํ วันนี้ข้าพเจ้า กริสฺสามิ จักกระทำ กมฺมํ ซึ่งการงาน รตฺตึ ตลอดคืน อิมํ นี้

คจฺฉ สามีติ (วจเน ภริยาย )  วุตฺเต  อตฺตโน กมฺมกรณฏฺฐานํ อคจฺฉิ

คจฺฉ จงไป
สามีติ สามิ+อิติ สามี
ภริยาย ภริยา วจเน กล่าว

วจเน ครั้นเมื่อคำ สามิ ข้าแต่สามี ตวํ อ.ท่าน ภริยาย ภริยา คจฺฉ จงไปเถิด

วุตฺเต กล่าวแล้ว
กมฺมกรณฏฺฐานํ สู่ที่เป็นที่กระทำซึ่งงาน อตฺตโน ของตน


วันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

แบบฝึกหัด ออนไลน์ ย้อนหลัง วัดท่ามะโอ 1 Apr 2020

แบบฝึกหัด ออนไลน์ ย้อนหลัง วัดท่ามะโอ 1 Apr 2020

ฝึกแปลประโยคแบบ อจฺจนฺตสํโยค ลงทุติยาวิภัตติมีคำแปลว่า สิ้น, ตลอด

1. อิมํ รตฺตึ กมฺมํ กโรมิ. แปลและตัดสินว่าบทไหนในประโยคนี้เป็น ‘อัจจันตสังโยค’
2.อญฺญตโร  ปุริโส  / ภทฺเท อชฺชาหํ  อิมํ รตฺตึ กมฺมํ  กริสฺสามีติ วตฺวา / คจฺฉ สามีติ (วจเน ภริยาย ) วุตฺเต /อตฺตโน  กมฺมกรณฏฺฐานํ อคจฺฉิ. 
ที่วงเล็บไว้ว่า (วจเน ภริยาย )วุตฺเต  เมื่อใช้จริงไม่นิยมวางถือว่ารู้กันว่าเป็นประโยคลักขณะ ลงสัตตมีวิภัตติแปลว่า ครั้นเมื่อ แปลเช่นนี้ว่า วจเน ครั้นเมื่อคำ อันภรรยา กล่าวแล้วว่า...คือ  ประโยคเแทรกๆ เข้ามาช่วงไหนก็แปลช่วงนั้นได้เลย  ทำเครื่องหมาย  / ไว้จะได้กำหนดการแปลง่ายขึ้น
ควรฝึกแปลและแต่งร่วมกันไป เหนื่อยหน่อย แต่ทว่ามีผลคุ้มค่า

แปลมาด้วยครับ : คจฺฉติ, อาคจฺฉติ, ปจฺจาคจฺฉติ, อนุคจฺฉติ, อวคจฺฉติ, อุจฺคจฺฉติ, อธิคจฺฉติ.

เฉลยคำตอบ 1 Apr 2020

1. อิมํ รตฺตึ กมฺมํ กโรมิฯ.  อหํ อ.ข้าพเจ้า กโรมิ ย่อมกระทำ กมฺมํ ซึ่งการงาน อิมํ รตฺตึ ตลอดคืนนี้
บทว่า รตฺติํ เป็นอัจจันตสังโยค
2. อญฺญตโร ปุริโส  ภทฺเท อชฺชาหํ อิมํ รตฺตึ กมฺมํ กริสฺสามีติ วตฺวา  คจฺฉ  สามีติ (วจเน ภริยาย )  วุตฺเต  อตฺตโน กมฺมกรณฏฺฐานํ อคจฺฉิ.
ปุริโส อ.บุรุษ  อญฺญตโร ผู้ใดผู้หนึ่ง วตฺวา กล่าวแล้ว อิติ ว่า ภทฺเท แน่ะนางผู้เจริญ อชฺช ในวันนี้ อหํ อ. เรา กริสฺสามิ จักกระทำ กมฺมํ ซึ่งการงาน อิมํ รตฺตึ ตลอดคืนนี้ ดังนี้
วจเน ครั้นเมื่อคำ อิติ ว่า สามิ ข้าแต่สามี ตวํ อ.ท่าน คจฺฉ จงไปเถิด ดังนี้ ภริยาย อันภรรยา วุตฺเต กล่าวแล้ว  
อคจฺฉิ ได้ไปแล้ว กมฺมกรณฏฺฐานํ สู่ที่เป็นที่กระทำซึ่งงาน อตฺตโน ของตน

ที่ทำเครื่องหมาย / ไว้ในตอนถามก็เพื่อให้รู้ว่าประโยคส่วนไหนอยู่ในห้อง ส่วนไหนอยู่นอกห้อง (ประโยคเลขใน เลขนอก) แม้การแปลก็กำหนดตามที่ขีดไว้ และประโยคที่ใช้ในสถานการณ์จริงมักวาง วุตฺเต ไว้เพียงศัพท์เดียว ถือว่ารู้กัน แต่เวลาแปลต้องโยคเข้ามาตามเนื้อหานั้น ๆ ขึ้นอยู่กับบริบทด้วยครับ
บทที่ประกอบด้วย ตฺวา ปัจจัยก็ดี อนฺต มาน ปัจจัยก็ดี    หรือประโยคแทรกที่ประกอบด้วยฉัฏฐีหริอสัตตมีวิภัตติ กล่าวได้ว่ายังไม่จบประโยค จึงไม่ควรขึ้นบทประธานอื่นเข้ามาแปลร่วม เพราะจะทำให้ความหมายขัดแย้งกัน

ดังนั้น บทที่ประกอบด้วย ตฺวา, อนฺต, มาน หรือ ต ปัจจัย ที่อยู่หลัง อิติ ศัพท์มักเป็นประโยคนอกห้อง ซึ่งประโยคนอกห้องต้องแปลก่อนแล้วเปิด อิติ ศัพท์เข้าไปแปลประโยคในห้องจนครบ แล้วเพิ่มคำว่า ดังนี้ หรือ ดังนี้เป็นต้น เข้ามา (ซึ่งเป็นเนื้อหาที่ละไว้ส่วนมากเกี่ยวกับคาถา) แปลอย่างนี้เป็นทอดๆ จนจบประโยค (ดูที่กิริยาคุมพากย์เป็นหลัก อาจเป็นอาขยาต หรือกิตก์)

คำศัพท์ที่ให้นั้น ควรแยกเฉพาะ ธาตุ ปัจจัย วิภัตติ ก็พอ ถ้าบอกขั้นตอนการทำตัวรูปอาจทำให้สับสน เพราะสนามหลวงก็มีขั้นตอนการทำตัวรูปเฉพาะตน (ดังเช่น คจฺฉติ มาจาก คมฺ ธาตุ+อ+ติ แปลงเป็น คจฺฉ สำเร็จรูป) ส่วนมูลกัจจายน์ซึ่งมีปทรูปสิทฺธิเป็นต้นก็มีการทำตัวรูปอีกลักษณะหนึ่งโดยมีการอ้างสูตรเป็นหลักฐาน ถ้านำมาปนกัน หลายๆ ท่านด้วยกันอาจเป็นงง? เช่น คจฺฉติ มาจาก คมุ ธาตุ+อ+ติ ทำตัวรูปโดย ลบสระที่สุดธาตุ ลง ติวิภัตติหลังคมฺ  ลง อ ปัจจัย แปลง มฺ เป็น จฺฉฺ ด้วย คมิสฺสนฺโต จฺโฉ วา สพฺพาสุ นำ ฉฺประกอบกับ อ สำเร็จรูปเป็น คจฺฉติ)

ถ้ายกมาแสดงควรเป็นมูลกัจจายน์ โดยเฉพาะมูลธาตุเดิม กมุ, คมุ (สนามหลวงบอก กมฺ, คมฺ) เป็นต้น

อธิตจฺฉติ แปลว่า ได้, ถึง บรรลุ, ปจฺจาคจฺฉติ กลับมา, อุคฺคจฺฉติ ขึ้น เอาความหมายที่ใช้บ่อยๆ ก่อนนะครับ พจนานุกรมมีหลายความหมายมากกลัวจะอึดอัดสับสนจับต้นชนปลายไม่ถูก  

เพิ่มเติม

๓ แปลมาด้วยครับ : คจฺฉติ, อาคจฺฉติ, ปจฺจาคจฺฉติ, อนุคจฺฉติ, อวคจฺฉติ, อุจฺคจฺฉติ, อธิคจฺฉติ
คจฺฉติ ๑. ไป (อยู่) (ย่อม) ไป (จะ) ไป
ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต
คมุธาตุ + อปจจัย + วัตตมานาวิภัตติ
ปรัสบท เอก ปฐม
๒. _ผู้ไปอยู่
ศัพท์เดิม คจฺฉนฺต สัตตมี. เอก.

อาคจฺฉติ
ย่อมมา
คจฺฉติ แปลว่า ย่อมไป ใส่ อา อุปสัค
เข้าไปข้างหน้าธาตุ เรียกว่า ธาตฺวตฺถพาธก อุปสัค
อา + คมุ + อ + ติ

ปจฺจาคจฺฉติ
ไปหุง กลับมา
(ปจ ธาตุ + คมุ ธาตุ)
ปติบทหน้า+อาบทหน้า+อปัจจัย+ติ

อนุคจฺฉติ
ก. (เช่น ชโน อ.ชน) ย่อมไปตาม อนุ  บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น อนุคจฺฉติ

อวคจฺฉติ
๑. ย่อมรู้ (อว อุปสัค + คมุ + อ + ติ)
๒. ก. ตกลงไป, บรรลุถึง, เข้าถึง

อุจฺคจฺฉติ ย่อมบินไป (อุจฺจ+คจฺฉติ)
อธิคจฺฉติ
บรรลุ ย่อมได้
อธิ + คมุ + อ + ติ