Amps
หน้าเว็บ
กลุ่มบทความน่าสนใจ
- บาลีใหญ่ท่ามะโอ (124)
- ธรรมแท้ๆจากพระไตรปิฏก (81)
- ธรรม วินิจฉัย (38)
- เทคนิคการใช้คอมพิวเตอร์ทำตัวรูป ภาษาบาลี (32)
- เรียนบาลีใหญ่ (22)
- โปรแกรมเรียนบาลีใหญ่ (18)
- คาถา ต่างๆ (11)
- ทั่วไป (10)
- สื่อเผยแผ่ธรรมะ (8)
- โปรแกรมพระไตรปิฎก (6)
วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568
ตำราเรียน และ ดิกชันนารี ภาษาบาลี อื่นๆ ที่น่าสนใจ เพิ่มคุณสมบัติเอกสารเพื่อให้ค้นคำได้
วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568
หนังสือ เรียนบาลี ไวยากรณ์ใหญ่ (บาลีใหญ่) พระมหาธิติพงศ์-อุตฺตมปญฺโญ (พม.ต่วน) วัดจากแดง วัดท่ามะโอ ค้นคำได้ทุกเล่ม
หนังสือ เรียนบาลี ไวยากรณ์ใหญ่ (บาลีใหญ่) แปลเรียบเรียง รวบรวมโดย พระมหาธิติพงศ์-อุตฺตมปญฺโญ (พม.ต่วน) รวมถึง ใช้ในสำนักเรียนบาลีวัดจากแดง และ วัดท่ามะโอ ต.เวียงเหนือ จ.ลำปาง ในปัจจุบัน
วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568
หนังสือตำราเรียนบาลี พระพุทธศาสนา พระอาจารย์ มหาสมปอง มุทิโต ฟรี PDF ค้นคำได้
หนังสือตำราเรียนบาลี พระพุทธศาสนา พระอาจารย์ มหาสมปอง มุทิโต ฟรี PDF ค้นคำได้
คู่มือเดินทางสู่สังเวชนียสถานอินเดีย
มูลนิรุตติ กัจจายนสูตร และธาตฺวานุกรม
ลายแทงขุมทรัยพ์ ดินแดนพระพุทธภูมิ
อตฺถานุกฺกมทีปิกา กิริยากิตก์ในธัมมปทัฏฐ
ปทรูปสิทธิ
วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ชื่อเดือนภาษาบาลี
ชื่อเดือนภาษาบาลี
วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2566
อาราธนาธรรมที่ถูกต้อง บาลี พร้อม คำแปล
อาราธนาธรรม คือ
อาราธนาธรรม คําอ่าน
อาราธนาธรรม คำแปล
วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2566
วันพฤหัสบดีที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2565
พระธรรมเทศนา เทศนาธรรม เรื่องความตาย โดย พระมหาวีรชัย นันทะวังโส ป.ธ.๙ แห่ง วัดท่ามะโอ จ.ลำปาง
เทศนาธรรม เรื่อง ความตาย เรื่องราวจากพุทธพจน์ การพิจารณาอย่างไร เพื่อไม่ให้ต้องตายอีก โดย พระมหาวีรชัย นันทะวังโส ป.ธ.๙ แห่ง วัดท่ามะโอ จ.ลำปาง
วันอังคารที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2565
สรุปการใช้ คำกริยา อาขยาต ภาษาบาลี ปัญจมีวิภัตติ พร้อมฝึกสัมพันธ์ บาลีใหญ่ ท่ามะโอ
สรุปการใช้ คำกริยา อาขยาต ภาษาบาลี ปัญจมีวิภัตติ เบื้องต้น ฝึกสัมพันธ์
วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2564
บาลีไวยากรณ์ จากตำราโบราณ รวมท่อง พร้อมตัวอย่าง กัจจายนะสูตร ครบทั้ง 7 กัณฑ์
กัจจายนะ
1. สนธิกัณฑ์
2. นามกัณฑ์
3. การกกัณฑ์
4. สมาสกัณฑ์
5. ตัทธิตกัณฑ์
6. อาขยาตกัณฑ์
7. กิพพิธานกัณฑ์
ตัวอย่างการใช้ คัมภีร์ กัจจายนะ ประกอบคำ ในภาษาบาลี
วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2564
ชีวประวัติ พระอาจารย์ ธัมมานันทมหาเถระ 2021
ชีวประวัติ : พระอาจารย์ธัมมานันทมหาเถระ 2021
วันอังคารที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2564
ภาษาบาลี พร้อมความหมาย ทำไมต้องเรียนบาลี กับ วิปัสนาชุนี แค่คำนำก็สนุกแล้ว
วิปัสสนากรรมฐานเบื้องต้น ในวิปัสนาชุนี ภาษาบาลี พร้อมคําแปล
เพื่อคลายปมในใจ เพื่อให้ใจหนักแน่นไม่คลอนแคลน ก่อนศึกษาพระธรรม และ น้อมนำไปปฏิบัติ
โปรดลด เสียง เมื่อใช้ หูฟัง หรือ เครื่องขยายเสียง (อัดเสียงด้วยไมค์ คุณภาพสูง)
วันศุกร์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2564
ภาษาบาลี พร้อมความหมาย วันละประโยค จงอย่าประมาทเลย จากพระไตรปิฎก และ หนังสือ วิปัสนาชุนี
ปริเฉทที่ ๑ ไม่ต้องเสียใจ อย่าเสียดายโอกาส อย่าได้ประมาทเลย
ประโยคเต็มที่ ๓
ฌายถ ภิกฺขเว มา ปมาทตฺถ
มา ปจฺฉา วิปฺปฏิสาริโน อหุวตฺถ
อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี.
(ม.มู. ๑/๑๖๗)
คำแปลศัพท์ทีละคำ
ฌายถ ตรึก เพ่ง ไหม้ (อยู่) (ย่อม) ตรึก เพ่ง ไหม้ (จะ) ตรึก เพ่ง ไหม้
ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต
เฌธาตุ อปัจจัย วัตตมานาวิภัตติ ฌาย
ปรัสบท พหุ มัชฌิม
ภิกฺขเว นาม ปุง. กลุ่ม ภิกฺขุ ศัพท์เดิม ภิกฺขุ ภิกษุ
อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ภิกษุ ทั้งหลาย คำการร้องเรียก
อาลปนะ
มา ๑ นิ. อย่า ใช้ปฏิเสธธาตุที่ประกอบด้วยวิภัตติ ๔ หมวด คือ ๑. หมวดปัญจมี เช่น มา กโรตุ จงอย่ากระทำ ๒. หมวดสัตตมี เช่น มา อาหเรยฺยาสิ อย่าพึงนำมา ๓. หมวดหิยัตตนี เช่น มา อวจ อย่าได้กล่าวแล้ว ๔. หมวด อัชชัตตนี เช่น มา กริ อย่ากระทำแล้ว
๒ อย่าน่ะ
ปมาทตฺถ ประมาท (แล้ว)
ประจักษ์ต่ออินทรีย์ หรือไม่ประจักษ์ ก็ตาม
ปอุปสัค+มทฺธาตุ+อปัจจัย+ หิยยัตตนีวิภัตติ ปมาท อดีตล่วงแล้วเมื่อวานนี้
ปรัสบท พหุ มัชฌิม
อยู่ในประโยคที่มี "มา" นิบาต หิยัตตนี และ อัชชตนี จะใช้ในอรรถเดียวกับปัญจมีวิภัติ (ไม่ใช้ในอรรถอดีตกาลปกติของตน)
ปจฺฉา นิ. ในภายหลัง เป็นนิบาตมีเนื้อความต่างๆ เช่น ปจฺฉา วินยธโร ตตฺถ ปวิฏฺโ อ. พระวินัยธร เข้าไปแล้ว ในซุ้มแห่งนํ้านั้น ในภายหลัง [ธ. ๑ :โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า ๔๙]
วิปฺปฏิสาริโน นาม ปุง. กลุ่ม ทณฺฑี ศัพท์เดิม วิปฺปฏิสารี ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ
ปฐมา พหุ. อันว่าผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ ทั้งหลาย ประธาน
สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน
อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ ทั้งหลาย คำการร้องเรียก
อาลปนะ
ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ ทั้งหลาย กรรมในประโยค
อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม
จตุตถี เอก. แก่, เพื่อ, ต่อ ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ เป็นผู้รับ
สัมปทาน
ฉัฏฐี เอก. แห่ง, ของ, เมื่อ ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ แสดงความเป็นเจ้าของ หรือ อาการกริยาการเป็นเจ้าของ
สมูหสัมพันธะ สามีสัมพันธะ อนาทร
อหุวตฺถ (ได้) มี เป็น (แล้ว)
อดีตล่วงแล้วเมื่อวานนี้
ประจักษ์ต่ออินทรีย์ หรือไม่ประจักษ์ ก็ตาม
ออาคม + หูธาตุ + หิยยัตตนีวิภัตติ อหุว
ปรัสบท พหุ มัชฌิม อัตตโนบท เอก ปฐม
อยู่ในประโยคที่มี "มา" นิบาต หิยัตตนี และ อัชชตนี จะใช้ในอรรถเดียวกับปัญจมีวิภัติ (ไม่ใช้ในอรรถอดีตกาลปกติของตน)
อยํ ๑ อิม ปุง. กลุ่ม อิม ศัพท์เดิม อิม นี้
ปฐมา เอก. อันว่านี้ ประธาน
สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน
๒ อิม อิต. กลุ่ม อิม ศัพท์เดิม อิม นี้
ปฐมา เอก. อันว่านี้ ประธาน
สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน
๓ นาม ปุง. นปุง กลุ่ม มน ศัพท์เดิม อย เหล็ก
ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ เหล็ก กรรมในประโยค
อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม
โว ท่าน เธอ คุณ (อลิงคนาม)
ห้ามเรียงต้นประโยค
สัพ. ปฐมา ทุติยา ตติยา จตุตฐี ฉัฐถี พหุ
อมฺหากํ ๑ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน
อมฺหสทฺทปทมาลา
พหุวจน ทุติยา จตุตถี ฉัฏฐี
แปลง อมฺห กับวิภัตตินั้น เป็นรูปนั้นๆ
เม, โน เมื่อมีบทอื่นนำหน้า จึงใช้เรียงในประโยคได้
แปลง อมฺห เป็น อสฺม และแปลง นํ วิภัตติเป็น อากํ
๒ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน (อลิงคนาม)
อมฺห สัพ. ทุติยา จตุตฐี ฉัฏฐี พหุ
อนุสาสนี นาม ปุง. กลุ่ม ทณฺฑี ศัพท์เดิม อนุสาสนี อนุสาสนี
ปฐมา เอก. อันว่าคำสอนในศาสนา อนุสาสนี ประธาน
สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน
ปฐมา พหุ. อันว่าคำสอนในศาสนา อนุสาสนี ทั้งหลาย ประธาน
สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน
อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ คำสอนในศาสนา อนุสาสนี ทั้งหลาย คำการร้องเรียก
อาลปนะ
ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ คำสอนในศาสนา อนุสาสนี ทั้งหลาย กรรมในประโยค
อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม
ความต่าง ระหว่าง ตฺถ หิยัตตนี กับ ตฺถ อชฺชตนี
ตฺถ หิยตฺตนี จะอยู่หลังสระ "อ" เช่นอคมตฺถ
ตฺถ อชฺชตนี จะอยู่หลังสระ "อิ" (หรือ อุ บ้าง) เช่น อคมิตฺถ อคมุตฺถ
แปลประโยคเต็ม โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ ธรรมดา
ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย (ตุมเห เธอทั้งหลาย)
ฌายถ จงเพ่ง (จงเจริญทั้งสมถะ และ วิปัสสนากัมมัฏฐาน)
มา ปมาทตฺถ อย่าได้ประมาทเลย
มา อหุวตฺถ อย่าได้เป็น วิปฺปฏิสาริโน ผู้เสียใจ ปจฺฉา ในภายหลัง
อยํ นี้ อนุสาสนี เป็นโอวาท อมฺหากํ ของเรา โว สำหรับพวกเธอ
วันอังคารที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564
ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี ปริเฉทที่ ๑ โอกาสทองกับธรรม อันทรงคุณค่า
โอกาสทองกับธรรม อันทรงคุณค่า
ประโยคเต็มที่ ๒
อชฺเชว กิจฺจมาตปฺปํ โก ชญฺญา มรณํ สุเว
น หิ โน สงฺครํ เตน มหาเสเนน มจฺจุนา
(ม.อุ. ๑๓/๒๖๒)
คำแปลศัพท์ทีละคำ
อชฺเชว
ในวันนี้นั่นเทียว
อชฺช+เอว
อชฺช อัพ. วันนี้ มาจาก อิม ศัพท์ ลง ชฺช ปัจจัย แปลง อิม เป็น อ สำเร็จรูปเป็น อชฺช ใช้เป็น ประธาน แปลว่า อ. วันนี้ ใช้เป็นสัตตมีวิภัตติ แปลว่า ในวันนี้
กิจฺจมาตปฺปํ
อ.ความเพียร อันบุคคล พึงกระทำ
กิจฺจํ+อาตปฺปํ
โก
น.ปุง. ใคร, อะไร, ไหน
กึสทฺทปทมาลา ปฐมา เอก
ชญฺญา
ก. พึงรู้, ควรรู้ โดยมีบทวิเคราะห์ว่า
โก ชญฺญา มรณํ สุเว อ.ใคร พึงรู้ ซึ่งความตาย ในวันพรุ่งนี้
มรณํ
นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม มรณ ความตาย
ปฐมา เอก. อันว่าความตาย ประธาน
สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน
ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ความตาย กรรมในประโยค
อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม
สุเว
ในวันพรุ่งนี้
น
๑ นิ. ไม่, หามิได้ เป็นนิบาตบอกปฏิเสธ แปล พร้อมกับกิริยาหรือนามศัพท์ ให้แปลว่า ไม่ แปล พร้อมกับกิริยา เช่น น กเถสิ = ไม่กล่าวแล้ว แปล พร้อมกับนามศัพท์ เช่น น จิรสฺส = ต่อกาลไม่นาน ถ้าแปลทีหลังกิริยาหรือนามศัพท์ ให้แปลว่า หามิได้ แปลหลังกิริยา เช่น น กิลมนฺติ = ย่อม ลำบาก หามิได้ แปลหลังนามศัพท์ เช่น น อสฺโส = เป็นม้า หามิได้
๒ แทนเลข ศูนย์
หิ
จริงอยู่ ก็ เพราะว่า ดังจะกล่าวโดยพิสดาร
(อย่างน่าสงสารที่สุด)
นิบาต ได้แก่ (หิ จ) ปน ศัพท์ที่แปลว่า ก็ ซึ่งวางไว้ตำแหน่งที่ ๒ หรือ ๓ ก็ได้
โน
๑ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน
ห้ามเรียงต้นประโยค
อมฺหสทฺทปทมาลา
พหุวจนะ ปฐมา ทุติยา ตติยา จตุตถี ฉัฏฐี
แปลง อมฺห กับวิภัตตินั้น เป็นรูปนั้นๆ
เม, โน เมื่อมีบทอื่นนำหน้า จึงใช้เรียงในประโยคได้
แปลง อมฺห เป็น อสฺม และแปลง นํ วิภัตติเป็น อากํ
๒ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน (อลิงคนาม)
อมฺห สัพ. ปฐมา ทุติยา ตติยา จตุตฐี ฉัฏฐี พหุ
สงฺครํ
๑ ประณีประนอม
๒ ท่านแสดงไว้ในอรรถ ๖ อย่าง คือ (๑) มิตตาการะ การทำตัวเหมือนมิตร (๒) ลัญชทานะ การให้สินบน (๓) พลราสิ หมู่พล (๔) วิปัตติ ความวิบัติ (๕) ยุทธะ การรบ (๖) ปฏิญญา การรับรอง
อ้างอิง
๑ วิปัสสนาชุนี อ.จำรูญ ธรรมดา
๒ อภิธานวรรณา พม.สมปอง มุทิโต
เตน
๑ (อันผู้มีปัญญา อันผู้ฉลาด)นั้น
๒ นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม ต นั้น
ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ
กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)
๓ เพราะเหตุนั้น
๔ เขา ปุริสสัพนาม ต ศัพท์ ปุง ตติยา เอก วจนะ
เขา ปุริสสัพนาม ต ศัพท์ นปุง ตติยา เอก วจนะ
๕ ต ศัพท์ ปุง ศัพท์เดิม ต นั้น
ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ
กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)
๕ ต ศัพท์ นปุง ศัพท์เดิม ต นั้น
ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ
กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)
มหาเสเนน
นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม มหาเสน ผู้มีสมุนเสนามากมาย มีบริวารมาก
ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง ผู้มีสมุนเสนามากมาย มีบริวารมาก เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ
กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)
มจฺจุนา
จากความตาย กับพญามัจจุราช
มีบทวิเคราะห์ว่า น เต มุจฺจนฺติ มจฺจุนา อ.สัตว์ ท.เหล่านั้น ย่อมไม่พ้น จากความตาย
แปลประโยคเต็ม โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ ธรรมดา
โก ใครเล่า ชญฺญา จักพึงรู้ (ชีวิตํ วา) มรณํ วา ว่าจักเป็นหรือจักตาย สุเว ในวันพรุ่งนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น กิจฺจํ พึงกระทำ อาตปฺปํ ซึ่งการเจริญวิปัสนา อชฺเชว ในวันนี้เทียว
หิ ด้วยว่า สงฺครํ การประณีประนอม เตน มจฺจุนา กับพญามัจจุราช มหาเสเนน ผู้มีสมุนเสนามากมาย นตฺถิ ย่อมไม่มี โน แก่พวกเรา (ตสฺสมา เพราะเหตุนั้น โก ใครเล่า ชญฺญา จักพึงรู้ สุเว มรณํ ว่าจะตายในวันพรุ่งนี้)