วันพฤหัสบดีที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2563

เรียน บาลี สังขยา การต่อ สังขยา บาลี การนับ ตัวเลข ในภาษาบาลี นับเลขภาษาบาลี ศูนย์ ภาษาบาลี นับเลขบาลี 1-100 กว่าสิบล้าน ขึ้นไป

ปกติสังขยา

การนับ ตัวเลขภาษาบาลี อื่นๆ เช่น หก ภาษาบาลี 

คำอ่านบาลี1 คำอ่านบาลี2 คำอ่านบาลี3 Number คำอ่านเงินตรา Len คำอ่านปกติ ปกติสังขยา ข้อจำกัดการใช้ 1 ข้อจำกัดการใช้ 2 ข้อจำกัดการใช้ 3 ข้อจำกัดการใช้ 4

0 ศูนย์บาทถ้วน 12 ศูนย์




เอก

1 หนึ่งบาทถ้วน 12 หนึ่ง ปกติสังขยา วิเสสนสัพพนาม เอก ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) แปลออกสำเนียง อายตนิบาตแห่งวิภัตติไม่ได้ เอก ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็นได้ ๓ ลิงค์ เอกสังขยา เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
ทฺวิ

2 สองบาทถ้วน 10 สอง ตั้งแต่ ทฺวิ (๒) ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็นพหุวจนะอย่างเดียว
ติ

3 สามบาทถ้วน 10 สาม
จตุ

4 สี่บาทถ้วน 10 สี่
ปญฺจ

5 ห้าบาทถ้วน 10 ห้า


6 หกบาทถ้วน 9 หก
สตฺต

7 เจ็ดบาทถ้วน 11 เจ็ด
อฏฺฐ

8 แปดบาทถ้วน 10 แปด
นว

9 เก้าบาทถ้วน 11 เก้า
ทส

10 สิบบาทถ้วน 10 สิบ
เอกาทส

11 สิบเอ็ดบาทถ้วน 14 สิบเอ็ด
ทฺวาทส พารส
12 สิบสองบาทถ้วน 13 สิบสอง
เตรส

13 สิบสามบาทถ้วน 13 สิบสาม
จตุทฺทส จุทฺทส โจทฺทส 14 สิบสี่บาทถ้วน 13 สิบสี่
ปญฺจทส ปณฺณรส ปนฺนรส 15 สิบห้าบาทถ้วน 13 สิบห้า
โสฬส

16 สิบหกบาทถ้วน 12 สิบหก
สตฺตรส

17 สิบเจ็ดบาทถ้วน 14 สิบเจ็ด
อฏฺฐารส

18 สิบแปดบาทถ้วน 13 สิบแปด
เอกูนวีสติ อูนวีส
19 สิบเก้าบาทถ้วน 14 สิบเก้า เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นอิตถีลิงค์อย่างเดียว เป็นเอกวจนะอย่างเดียว ตั้งแต่ เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
วีส วีสติ
20 ยี่สิบบาทถ้วน 13 ยี่สิบ
เอกวีสติ

21 ยี่สิบเอ็ดบาทถ้วน 17 ยี่สิบเอ็ด
ทฺวาวีสติ พาวีสติ
22 ยี่สิบสองบาทถ้วน 16 ยี่สิบสอง
เตวีสติ

23 ยี่สิบสามบาทถ้วน 16 ยี่สิบสาม
จตุวีสติ

24 ยี่สิบสี่บาทถ้วน 16 ยี่สิบสี่
ปญฺจวีสติ

25 ยี่สิบห้าบาทถ้วน 16 ยี่สิบห้า
ฉพฺพีสติ

26 ยี่สิบหกบาทถ้วน 15 ยี่สิบหก
สตฺตวีสติ

27 ยี่สิบเจ็ดบาทถ้วน 17 ยี่สิบเจ็ด
อฎฺฐวีสติ

28 ยี่สิบแปดบาทถ้วน 16 ยี่สิบแปด
เอกูนตึส อูนตึส
29 ยี่สิบเก้าบาทถ้วน 17 ยี่สิบเก้า
ตึส ตึสติ
30 สามสิบบาทถ้วน 13 สามสิบ
เอกตฺตึส

31 สามสิบเอ็ดบาทถ้วน 17 สามสิบเอ็ด
ทฺวตฺตึส พาตฺตึส
32 สามสิบสองบาทถ้วน 16 สามสิบสอง
เตตฺตึส

33 สามสิบสามบาทถ้วน 16 สามสิบสาม
จตุตฺตึส

34 สามสิบสี่บาทถ้วน 16 สามสิบสี่
ปฺจตฺตึส

35 สามสิบห้าบาทถ้วน 16 สามสิบห้า
ฉตฺตึส

36 สามสิบหกบาทถ้วน 15 สามสิบหก
สตฺตตฺตึส

37 สามสิบเจ็ดบาทถ้วน 17 สามสิบเจ็ด
อฏฺฐตฺตึส

38 สามสิบแปดบาทถ้วน 16 สามสิบแปด
เอกูนจตฺตาฬีส อูนจตฺตาฬีส
39 สามสิบเก้าบาทถ้วน 17 สามสิบเก้า
จตฺตาฬีส ตาลีส
40 สี่สิบบาทถ้วน 13 สี่สิบ
เอกจตฺตาฬีส

41 สี่สิบเอ็ดบาทถ้วน 17 สี่สิบเอ็ด
เทฺวจตฺตาฬีส

42 สี่สิบสองบาทถ้วน 16 สี่สิบสอง
เตจตฺตาฬีส

43 สี่สิบสามบาทถ้วน 16 สี่สิบสาม
จตุจตฺตาฬีส

44 สี่สิบสี่บาทถ้วน 16 สี่สิบสี่
ปฺจจตฺตาฬีส

45 สี่สิบห้าบาทถ้วน 16 สี่สิบห้า
ฉจตฺตาฬีส

46 สี่สิบหกบาทถ้วน 15 สี่สิบหก
สตฺตจตฺตาฬีส

47 สี่สิบเจ็ดบาทถ้วน 17 สี่สิบเจ็ด
อฏฺฐจตฺตาฬีส

48 สี่สิบแปดบาทถ้วน 16 สี่สิบแปด
เอกูนปญฺญาส อูนปญฺญาส
49 สี่สิบเก้าบาทถ้วน 17 สี่สิบเก้า
ปญฺญาส ปณฺณาส
50 ห้าสิบบาทถ้วน 13 ห้าสิบ
สฏฺฐิ

60 หกสิบบาทถ้วน 12 หกสิบ
สตฺตติ

70 เจ็ดสิบบาทถ้วน 14 เจ็ดสิบ
อสีติ

80 แปดสิบบาทถ้วน 13 แปดสิบ
นวุติ

90 เก้าสิบบาทถ้วน 14 เก้าสิบ
สตํ

100 หนึ่งร้อยบาทถ้วน 16 หนึ่งร้อย เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็นนามนาม แปลออกสำเนียงอายตนิบาตแห่งวิภัตติได้ เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็นนปุงสกลิงค์อย่างเดียว ได้ ๒ วจนะ ตั้งแต่ เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็น นปุงสกลิงค์ ได้ ๒ วจนะ
สหสฺสํ

1,000 หนึ่งพันบาทถ้วน 15 หนึ่งพัน
ทสสหสฺสํ

10,000 หนึ่งหมื่นบาทถ้วน 17 หนึ่งหมื่น
สตสหสฺสํ ลกฺขํ
100,000 หนึ่งแสนบาทถ้วน 15 หนึ่งแสน
ทสสตสหสฺสํ

1,000,000 หนึ่งล้านบาทถ้วน 16 หนึ่งล้าน
โกฏิ

10,000,000 สิบล้านบาทถ้วน 14 สิบล้าน โกฏิ เป็นอิตถีลิงค์ ได้ ๒ วจนะ


ตั้งแต่ เอก ถึง จตุ เป็นวิเสสนสัพพนาม
เอก ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) แปลออกสำเนียง อายตนิบาตแห่งวิภัตติไม่ได้
เอก ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็นได้ ๓ ลิงค์
เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นอิตถีลิงค์อย่างเดียว
เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็นนปุงสกลิงค์อย่างเดียว
โกฏิ เป็นอิตถีลิงค์
เอกสังขยา เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
ตั้งแต่ ทฺวิ (๒) ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็นพหุวจนะอย่างเดียว
ตั้งแต่ เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
ตั้งแต่ เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็น นปุงสกลิงค์ ได้ ๒ วจนะ

ปกติสังขยา
เอกูนสตํ (๙๙) ขึ้นไป เป็นนามนาม แปลออกสำเนียงอายตนิบาตแห่งวิภัตติได้

ปูรณสังขยาทั้งปวง เป็นคุณนาม เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แต่เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
ปูรณสังขยา นับจำนวนที่เต็ม หรือนับตามลำดับ เช่น ที่๑ ที่๒ ที่๓ ...


คาถาแสดงการจำแนกสังขยาโดยลิงค์และวจนะ

ทฺวาทโย อฏฺฐารสนฺตา  ติลิงฺเค พหุวาจกา
วีสตฺยาที นวุตฺยนฺตา  อิตฺถิลิงฺเคกวาจกา
สตาที อสงฺเขฺยยฺยนฺตา นปุํ  สกา ทฺวิวาจกา
โกฏิปฺปภุตฺยกฺโขภิณี  อิตฺถิลิงฺคา ทฺวิวาจกา.

ตั้งแต่ ทฺวิ (๒) ถึง อฏฺฐารส (๑๘) เป็น ๓ ลิงค์ พหุวจนะ
ตั้งแต่ เอกูนวีสติ (๑๙) ถึง อฏฺฐนวุติ (๙๘) เป็นอิตถีลิงค์ เอกวจนะ
ตั้งแต่ เอกูนสตํ (๙๙) ถึง อสงฺเขฺยยฺย เป็นนปุงสกลิงค์ ๒ วจนะ
โกฏิ (๑๐ ล้าน), ปโกฏิ (๑๐๐*แสน*๑๐ล้าน), โกฏิปฺปโกฏิ (๑๐๐*แสน*ปโกฏิ), อกฺโขภิณี เป็นอิตถีลิงค์ ๒ วจนะ

นหุตํ (๑๐๐*แสน*โกฏิปฺปโกฏิ)
นินฺนหุตํ (๑๐๐*แสน*นหุตํ)
อกฺโขภิณี (๑๐๐*แสน*นินฺนหุตํ)

กาที ฏาที ยการาที นวสงฺขฺยา ปกาสิตา,
ปญฺจสงฺขฺยา ปการาที สุญฺญา นาม สรญฺญนา.
อักษรมี ก เป็นต้น อักษรมี ฏ เป็นต้น และอักษรมี ย
เป็นต้น ถูกแสดงแล้วว่าเป็นสังขยาตั้งแต่ ๑ - ๙, อักษรมี
ป เป็นต้น ถูกแสดงแล้วว่าเป็นสังขยาตั้งแต่ ๑ - ๕ และ
สระแปดตัว, ญ และ นอักษร ถูกแสดงแล้วว่าชื่อว่าศูนย์

รายละเอียดเพิ่มเติม จาก ดิคบาลี คาถาธรรมบท ๑-๔
อสงฺเขยฺย  ๑ น.,นปุ. อสงไขย แจกเหมือน กุล เช่น  ป. เอก. อสงฺเขยฺยํ อ. อสงไขย คำว่า อสงไขย แปลว่า นับไม่ได้, คำนวณ ไม่ได้ คือระยะเวลายาวนานมากจนนับไม่ได้ ๑ อสงไขย = โกฏิยกกำลัง ๒๐
๒ ว. อันมีอสงไขยเป็นประมาณ ลง ณ ปัจจัยในปริมาณตัทธิต

โกฏิ น.,อิต. ที่สุด,ปลาย แจกเหมือน รตฺติ
๑ โกฏิ = ๑๐ ล้าน

โกฏิ น.,อิต. ที่สุด,ปลาย แจกเหมือน รตฺติ
๑ โกฏิ = ๑๐ ล้าน

จุดสังเกตุ
อูน แปลว่า พร่อง ใช้ใน สังขยา ในภาษาบาลี เช่น โปรดติดตามใน วีดีโอ



สรุปจากตำราเรียน วัดท่ามะโอ

หนังสือไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น-รวม พม.ต่วน พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ
บาลีดิค ThaiNewGenDict คาถาธรรมบท ๑-๔

บันทึกเลขบาลี ลงบาลีดิก แบบฝึกหัด สังขยา นับเลขภาษาบาลี ศูนย์ ภาษาบาลี นับเลขบาลี 1-100 กว่าสิบล้าน



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ขอบคุณสำหรับคำแนะนำ