วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2563

การเตรียมตัวก่อนปฏิบัติ กรรมฐาน เจริญสมาธิ ภาวนา

การเตรียมตัวก่อนปฏิบัติ กรรมฐาน เจริญสมาธิ ภาวนา

โดย ท่าน สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

การเตรียมตัวก่อนเริ่มปฏิบัติพระธรรม กรรมฐาน หรือ การเตรียมตัวก่อนเริ่มเจริญสติ สมาธิ ภาวนา มักไม่ได้มีการกล่าวถึงบ่อยนัก วันนี้ทางเพจ มี เคล็ดลับ เล็กๆ น้อยๆ นำมาฝาก


สรุปหลักที่ต้องรู้ก่อน ๓ อย่าง

  1. ปริยัตติ (ความรู้ด้านทฤษฎี ตามหลักที่ต้องอ้างอิงถึงพุทธพจน์ในพระไตรปิฎก)
  2. สิ่งที่ต้องกระทำก่อนเข้าปฏิบัติ (ปุพฺพกิจฺจ ภาวนา)
  3. พิธีกรรมในตอนที่จะเริ่มลงมือปฏิบัติ (วิธี สมาทาน กรรมฎฺฐาน)

ปุพฺพกิจฺจ ภาวนา

  • ตัด ปริโภชฺช (สิ่งที่ผูกพันธ์ หน่วงเหนี่ยวให้ใจห่วงกังวล หรือ สิ่งที่ใจติดข้อง)
  • เข้าหา กลฺยาณมิตฺต (เพื่อนที่คอยแนะนำการปฏิบัติให้สอดคล้องกับพุทธพจน์ เช่น ครู อาจารย์)
  • เลือกสถานที่ที่เหมาะแก่การภาวนา (สปฺปาย)

ปริโภชฺช ๑๐ อย่าง (วิสุทธิมรรค)

  • อาวาส ข้าวของเครื่องใช้ในอาวาส (บ้าน)
  • กุล หรือ ตระกูล (ครอบครัว ผู้อุปถัมป์ เกื้อกูล)
  • ลาภ รายได้ หรือ ผลประโยชน์
  • คณะ (หมู่คณะ)
  • กมฺม (การงาน)
  • การเดินทางไกล
  • ญาติ พี่น้อง อาจารย์ ลูกศิษย์
  • ความเจ็บป่วยของตนเอง
  • การศึกษาเล่าเรียน
  • อิทฺธิ (ฤทธิ์) เช่นความสำเร็จต่างๆ เกียรติยศชื่อเสียง

ลักษณะของ กลฺยาณมิตฺต ๗ ประการ (กัลยาณมิตร)

  • ปิโย เป็นที่รัก
  • ครุ เป็นครู ที่เคารพ
  • ภาวนีโย ถูกทำให้เจริญ
  • วตฺตา พูดเป็น อธิบายชี้แจงข้อสงสัยได้ ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
  • วจน ขโม เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ (สามารถซักถามได้)
  • พูดจาแถลงคำพูดที่ลึกซึ้งได้
  • ไม่ชักจูงไปในทางที่เสียหายไม่เป็นประโยชน์

ความถูกจริต ๖ ประการ

  • ราคจริตฺ ราคะจริต รักสวยรักงาม
  • โทส จริตฺ โทสะจริต หงุดหงิดขัดใจง่าย
  • โมห จริต หลง งมงาย เขลา
  • ศรัทธาจริต เห็นอะไรก็ซาบซึ้งง่าย
  • พุทธิ จริต เชื่อด้วยปัญญา
  • วิตก จริต คิดอะไรจับจดฟุ้งซ่าน

กรรมฐาน

  • สมถะ ต้องเลือกให้ถูกกับจริต เพื่อให้เกิดสมาธิ
  • วิปัสนา ไม่ต้องห่วงจริตมาก
  • อานาปานสติ ถือว่า สากล

สปฺปาย ๗ ประการ

  • สถานที่ปฏิบัติ ที่เกื้อกูลต่อการปฏิบัติ
  • โคจร (แหล่งอาหาร)
  • การพูดคุย เกื้อกูลแก่การเจริญสมาธิ
  • บุคคล ที่เราสบายใจ
  • โภชนะ อาหาร
  • อุตุ (ดิน ฟ้า อากาศ)
  • อิริยาบถ (เกื้อกูล อิริยาบททั้งสี่)

วันพุธที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2563

กโรติ ย่อมกระทำที่ทำตัวรูปไม่ ธรรมดา

ภาษาบาลี กร ธาตุ ที่ ทำตัวรูปไม่ธรรมดา

กระทำ (อยู่) (ย่อม) กระทำ (จะ) กระทำ
ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต
กรธาตุ + โอปัจจัย + วัตตมานาวิภัตติ กโร

ปรัสบท


อัตตโนบท

เอก special พหุ พหุ special เอก เอก special พหุ พหุ
ติ เร อนฺติ
เต เร อนฺเต
กโรติ กุพฺพนฺติ กโรนฺติ
กุรุเต
กุพฺพนฺเต
สิ เร
เส
วฺเห
กโรสิ
กโรถ
กุรุเส
กุรุวฺเห
ามิ
าม
เอ
ามฺเห
กโรมิ
กโรม
กุพฺเพ
กุรุมฺเห

วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2563

เทคนิคการลดรูปสูตรเงื่อนไข ด้วย Search functions

เทคนิคการลดรูปสูตรเงื่อนไข ด้วย Search functions

Excel หรือ LibreOffice 

คณฺหา
ปคฺคณฺหา
นิคฺคณฺหา

๓ รูปนี้ ประกอบด้วย ...คณฺหา
รูปพิเศษ ปรัสบท เอกวจน ปฐมบุรุษ ตัดสระ อา ออกก่อนผสม ติ เข้าไป

สูตรคือ =IF(OR($A$4="ปหิณา",SEARCH("*คณฺหา",$A$4)),$A$6&D3,IF($A$4="หน",$A$4&C3,""))


วันอังคารที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562

เทคนิคการลดรูปสูตรเงื่อนไข แต่รองรับการทำตัวรูปมากขึ้น

8.56 นาที เทคนิคการลดรูปสูตรเงื่อนไข แต่รองรับการทำตัวรูปมากขึ้น

เพิ่ม RIGHT($A$4,3)="ชฺฌ" เข้าไปในเงื่อนไข ของ IF
หมายเหตุ คำกลุ่ม ปติบทหน้า + วิธธาตุ + ยปัจจัย + วัตตมานาวิภัตติ (กัตตุ) ปฎิวิชฺฌ
ไม่พบในพระไตรปิฎก บาลีสยามรัฐ


วันเสาร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2562

วิธีการใช้ Notepad เป็นที่เก็บข้อมูล และจัดรูปแบบชั่วคราว

วิธีการใช้ Notepad เป็นที่เก็บข้อมูล และจัดรูปแบบชั่วคราวก่อนบันทึกข้อมูล

วิธีการใช้ Notepad เป็นที่เก็บข้อมูล และจัดรูปแบบชั่วคราวก่อนบันทึกข้อมูล ลงใน ThaiNewGenDict เพื่อความรวดเร็ว
ลองทดสอบบันทึกหลังจากจัดรูปแบบเรียบร้อย
เพื่อความรวดเร็ว เทคนิคการทำตัวรูปด้วยคอมพิวเตอร์ โปรดติดตาม วีดีโอก่อนหน้า

ถูกตัด (อยู่) (ย่อม) ถูกตัด (จะ) ถูกตัด
ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต
ฉิทิธาตุ + ยปัจจัย + วัตตมานาวิภัตติ (กรรม) ฉิชฺช





วันพุธที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2562

6.22 นาที สูตรพื้นฐานการทำตัวรูปด้วยคอมพิวเตอร์ กับพุทธพจน์

สูตรพื้นฐานการทำตัวรูปด้วยคอมพิวเตอร์ กับพุทธพจน์

สูตรพื้นฐานการทำตัวรูปด้วยคอมพิวเตอร์ กับพุทธพจน์ ซึ่งเป็นตรรกพื้นฐานของสรรพสิ่ง

พระไตรปิฎก พระไตรปิฏก (บาลี-บาลีสยามรัฐ) เล่มที่ 11
พระสุตตันปิฎก ทีฆนิกาย เล่ม ๑๑ ปาฏิกวรรค
 [๒๗๖]   อปเรปิ   จตฺตาโร   ปุคฺคลา   ตโม  ตมปรายโน  ตโม โชติปรายโน โชติ ตมปรายโน โชติ โชติปรายโน ฯ
บุคคล ๔ ประเภท
มืดมา มืดไป
มืดมา สว่างไป
สว่างมา มืดไป
สว่างมา สว่างไป


วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2562

การทำตัวรูปด้วยคอมพิวเตอร์ การซ้อน if หรือ สร้างเงื่อนไขซ้อน

4.17 นาที การทำตัวรูปด้วยคอมพิวเตอร์ การซ้อน if หรือ สร้างเงื่อนไขซ้อนเพื่อใช้กับ ThaiNewGenDict

บทเรียนแนะนำตัวอย่าง
รูปแบบ คำสั่งการพิจารณาเงื่อไข if ชั้นเดียว
if(condition, yes do?, no do?)

เนื่องจาก กลุ่มศัพท์ตัวอย่าง ทาธาตุ + อปจจัย + สัตตมีวิภัตติ ทท มีรูปพิเศษดังนี้
ตัวอย่างนี้ เรากำหนดรูปแบบ เพื่อให้รู้ว่าในกลุ่มศัพท์ดังกล่าว (ที่เราจะทำตัวรูป) มีรูปพิเศษชุดใดบ้าง

๑ เงื่อนไขแรก เป็น y เพื่อบอกว่าส่วนใดมีรูปพิเศษ
๒ กรณีที่ตัวอักษรที่ ๒ ด้านขวา ไม่ใช่สละ เอ ให้ใส่ เอ เข้าไปก่อนอักษรตัวสุดท้าย

นำคำแปลอัตโนมัตติ ที่จัดรูปแบบไว้ดีแล้ว มาใส่ลงใน Notepad ก่อน copy คำแปลลงโปรแกรม ThaiNegenDict




(ควร )ให้ (พึง )ให้
อนุมติ อนุญาต ปริกปฺป การคาดคะเนระหว่างเหตุกับผล ปตฺถน ความปรารถนา วิธิ การกระทำ
กาลอันถูกกล่าวใกล้ ๆ
ทาธาตุ + อปัจจัย + สัตตมีวิภัตติ ทท

ปรัสบท เอก ปฐม ปรัสบท พหุ ปฐม อัตตโนบท เอก ปฐม อัตตโนบท พหุ ปฐม
ปรัสบท เอก มัชฌิม ปรัสบท พหุ มัชฌิม อัตตโนบท เอก มัชฌิม อัตตโนบท พหุ มัชฌิม
ปรัสบท เอก อุตตม ปรัสบท พหุ อุตตม อัตตโนบท เอก อุตตม อัตตโนบท พหุ อุตตม

พระไตรปิฎก บาลีสยามรัฐ (ศัพท์ในโปรแกรมนี้มาจากพระไตรปิฎก บาลี สยามรัฐทุกคำ)
นามาขยาต
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น รวม
รูปสิทธิทีปนี เล่ม ๒
พระอาจารย์มหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ (พระอาจารย์ต่วน)