วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2563

ประวัติศาสตร์ การนับเลขภาษาบาลี ตัวเลข ภาษาบาลี ตั้งแต่ สิบล้านขึ้นไป และ วิทยาศาสตร์ ในมุมมอง วิศวกร

ตัวเลข ภาษาบาลี ทำให้เรารู้ว่า วิทยาศาสตร์ ตามหลังพุทธศาสตร์ จริงหรือไม่

ปัจจุบันหลักฐานทางโบราณคดีที่เก่าแก่ที่สุดที่รู้จักกันในรูปแบบการเขียนหรือการนับใด ๆ คือรอยขีดข่วนบนกระดูกเมื่อ 150,000 ปีก่อน แต่หลักฐานที่มั่นคงอย่างแรกในการนับในรูปแบบของหมายเลขหนึ่งมาจากสองหมื่นปีที่แล้ว
นักสัตววิทยาบอกเราว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์สามารถนับได้ถึงสามหรือสี่ตัวเท่านั้น
นักมานุษยวิทยาบอกเราว่าในสุมาประมาณ 4,000 ก่อนคริสตศักราชชาวสุเมเรียนใช้โทเค็นเพื่อแสดงตัวเลข คำนวณกำไร และการสูญเสียและทำให้เกิดการบัญชี
สังคมดั้งเดิมอื่น ๆ เช่น Wiligree of Central Australia ไม่เคยใช้ตัวเลขและไม่รู้สึกว่าจำเป็น
ชาวอียิปต์ใช้ระบบการนับจำนวนและการวัดเพื่อสร้างอาคารขนาดใหญ่
ในปี 520 ก่อนคริสตศักราช Pythagorus ก่อตั้งโรงเรียนคณิตศาสตร์มังสวิรัติของเขาในกรีซ เขาชื่นชอบรูปทรงเรขาคณิต
ศาสนาพุทธมีอายุ 543 ปีก่อนคริสตศักราช
เว็บไซต์นี้ยังกล่าวว่า
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสของเขาได้รับการให้เครดิตแก่เขาแม้ว่าจะมีตำราของอินเดียโบราณพระสูตรสุลวา (800 ก่อนคริสตศักราช) และ ชตาพะทา พราห์มนะ (ศตวรรษที่ 8 ถึง 6 ก่อนคริสตศักราช) พิสูจน์ให้เห็นว่าทฤษฎีบทนี้เป็นที่รู้จักในอินเดียประมาณสองพันปีก่อนที่เขาจะเกิด
นั่นหมายถึงในปัจจุบันระบบเลขที่ซับซ้อน ได้อิทธิพลมาจากตำราของอินเดียโบราณ
ตำราบาลี โบราณ จากตำรา เรียนวัดท่ามะโอ ต.เวียงเหนือ อ.เมือง จ.ลำปาง
ได้อธิบายไว้ชัดเจน ถึง ระบบเลข ในยุคพุทธกาล ที่ระบุไว้ ถอดความในรูปแบบ เลขยกกำลัง มีถึง 10^(140)
ในขณะที่ Albert Einstein ได้ค้นพบ

E= m*(c^2)

E คือ พลังงาน
m คือ มวล ของวัตถุ
speed of light (c) approximately 3*(10^8) m/s

ปัจจุบัน มนุษย์ ยังไม่สามารถ ทำความเร็วของวัตถุ ให้มี ความเร็ว เร็วกว่า ความเร็วแสงได้
อีกทั้ง ระยะทาง ในการเดินทาง ยังถูกจำกัดด้วยพลังงาน
มีหลากหลายพระสูตรใน พระไตรปิฎก ของพระพุทธศาสนา ได้มีการอ้างอิงถึงจักรวาลอื่น
จากเรื่องระบบตัวเลข ที่ได้เรียนรู้จากตำราโบราณ ทางพระพุทธศาสนา
อาจเป็นจุดเริ่มต้น ที่ทำให้เราต้องหันกลับมามองปัจจุบันว่า อะไร คือคำตอบของชีวิต
เทคโนโลยี และ จักรวาล ที่เราพยายามหาคำตอบอยู่นั้น
อาจมีเพียงพลังแห่งชีวิตของเราเท่านั้นที่สามารถข้ามจักรวาลได้

จุดประสงค์ ของคลิปนี้ เพื่อเปรียบเทียบลำดับความคิดในเชิงพระพุทธศาสนากับลำดับความคิดในเชิงวิทยาศาสตร์





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ขอบคุณสำหรับคำแนะนำ