วันอังคารที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2564

ภิกษุ หน้าที่ มีอะไรบ้าง ตาม พระไตรปิฎก อากังขสูตร

หน้าที่ของภิกษุ ตาม พระไตรปิฎก อากังขสูตร

พระไตรปิฎก ฉบับหลวง (ไทย-บาลีสยามรัฐ) เล่มที่ 24
พระสุตตันปิฎก อังคุตตรนิกาย เล่ม ๒๔ ทสก-เอกาทสกนิบาต
ว่าด้วยธรรมหมวด ๑๐-๑๑
ข้อที่ 71
 อากังขวรรคที่ ๓
                          อากังขสูตร
     [๗๑] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันอารามของท่าน
อนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัส
พระพุทธพจน์นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายเธอทั้งหลายจงเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีล สมบูรณ์ด้วยปาติโมกข์
อยู่เถิด จงเป็นผู้สำรวมด้วยความสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยอาจารและโคจรอยู่เถิด จง
เป็นผู้เห็นภัยในโทษทั้งหลายอันมีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ ในสิกขาบททั้งหลายเถิด
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าภิกษุพึงหวังว่า เราพึงเป็นที่รัก ที่ชอบใจที่เคารพ และที่ยกย่องของ
สพรหมจารีทั้งหลายไซร้ ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้กระทำให้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย ประกอบด้วยความ
สงบใจในภายใน ไม่เหินห่างจากฌานประกอบด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนการอยู่เรือนว่างเปล่าเถิด
ถ้าภิกษุพึงหวังว่า เราพึงเป็นผู้ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขารทั้งหลาย
ไซร้ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้กระทำให้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย ประกอบด้วยความสงบใจในภายใน
ไม่เหินห่างจากฌาน ประกอบด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนการอยู่เรือนว่างเปล่าเถิด ถ้าภิกษุพึงหวังว่า
เราบริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร ของชนเหล่าใด ขอสักการะ
ของชนเหล่านั้นพึงมีผลมาก มีอานิสงส์มากไซร้ ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้กระทำให้บริบูรณ์ในศีล
ทั้งหลาย... เพิ่มพูนการอยู่เรือนว่างเปล่าเถิด ถ้าภิกษุพึงหวังว่า ญาติสาโลหิตเหล่าใด ผู้ละไปแล้ว
กระทำกาละแล้วมีจิตเลื่อมใส ย่อมตามระลึกถึง ขอการระลึกถึงแห่งญาติสาโลหิตเหล่านั้นพึงมี
ผลมาก มีอานิสงส์มากไซร้ ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้กระทำให้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย ...เพิ่มพูนการ
อยู่เรือนว่างเปล่าเถิด ถ้าภิกษุพึงหวังว่า เราพึงเป็นผู้สันโดษด้วยจีวรบิณฑบาต เสนาสนะและ
คิลานปัจจัยเภสัชบริขารตามมีตามได้ไซร้ ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้กระทำให้บริบูรณ์ ในศีลทั้งหลาย ...
เพิ่มพูนการอยู่เรือนว่างเปล่าเถิดถ้าภิกษุพึงหวังว่า เราพึงเป็นผู้อดทนต่อหนาว ร้อน หิว กระหาย
เหลือบ ยุงลม แดด และสัมผัสแห่งสัตว์เสือกคลาน ถ้อยคำอันหยาบช้า พึงเป็นผู้อดกลั้น
ต่อทุกขเวทนาอันมีในสรีระที่เกิดขึ้นแล้ว กล้าแข็ง เผ็ดร้อน อันไม่ชื่นใจไม่พอใจ อันนำชีวิต
ไปไซร้ ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้กระทำให้เป็นผู้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย ... เพิ่มพูนการอยู่เรือนว่างเปล่าเถิด
ถ้าภิกษุพึงหวังว่า เราพึงเป็นผู้ครอบงำความไม่ยินดี และความยินดี และขอความไม่ยินดีและ
ความยินดีไม่พึงครอบงำเรา เราพึงครอบงำความไม่ยินดี และความยินดีอันเกิดขึ้นแล้วอยู่ไซร้
ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้กระทำให้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย ... เพิ่มพูนการอยู่เรือนว่างเปล่าเถิด ถ้าภิกษุ
พึงหวังว่า เราพึงเป็นผู้ครอบงำภัยและความหวาดเสียว และขออภัยและความหวาดเสียวไม่พึง
ครอบงำเราได้ เราพึงเป็นผู้ครอบงำภัยและความหวาดเสียวที่เกิดขึ้นแล้วอยู่ไซร้ ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้
กระทำให้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย ... เพิ่มพูนการอยู่เรือนว่างเปล่าเถิด ถ้าภิกษุพึงหวังว่า เราพึง
เป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่อง
อยู่เป็นสุขในปัจจุบันไซร้ ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้กระทำให้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย ... เพิ่มพูนการอยู่
เรือนว่างเปล่าเถิด ถ้าภิกษุพึงหวังว่า เราพึงทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะ
ไม่ได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ไซร้ ภิกษุเหล่านั้น
พึงเป็นผู้กระทำให้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย  ประกอบความสงบใจในภายใน ไม่เหินห่างจากฌาน
ประกอบด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนการอยู่เรือนว่างเปล่าเถิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย คำที่เรากล่าวว่า
เธอทั้งหลายจงเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีล สมบูรณ์ด้วยปาติโมกข์อยู่เถิด จงเป็นผู้สำรวมด้วยความ
สำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยอาจาระและโคจรอยู่เถิดจงเป็นผู้เห็นภัยในโทษทั้งหลายอันมี
ประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลายเถิด ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ
                          จบสูตรที่ ๑




วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

ผู้คน สูงต่ำ ฐานะ มีให้เห็น แต่เป็นผู้เสมอกัน เมื่อมีศีล ขตฺติยา พฺราหฺมณา เวสฺสา...

พระไตรปิฎก พระไตรปิฏก (บาลี-บาลีสยามรัฐ) เล่มที่ 27

พระสุตตันปิฎก ขุททกนิกาย เล่ม ๒๗ ชาดก ภาค ๑

รวมคาถาแสดงคติธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสเมื่อครั้งเป็นพระโพธิสัตว์ในอดีตชาติ และมีคาถาภาษิตของผู้อื่นปนอยู่บ้าง ภาคแรก ตั้งแต่เรื่องที่มีคาถาเดียว (เอกนิบาต) ถึงเรื่องมี ๔๐ คาถา (จัตตาฬีสนิบาต) รวม ๕๒๕ เรื่อง

 [๗๖๑] ขตฺติยา พฺราหฺมณา เวสฺสา    สุทฺทา จณฺฑาลปุกฺกุสา

            อิธ ธมฺมํ จริตฺวาน          ภวนฺติ ติทิเว สมา ฯ

 [๗๖๑] กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร คนจัณฑาล และคนเทหยากเยื่อ

            ประพฤติธรรมในธรรมวินัยนี้แล้ว ย่อมเป็นผู้เสมอกันในไตรทิพย์. 




วันพฤหัสบดีที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2564

ครุธรรม 8 ประการ หรือ ครุธรรม ๘ ประการ ก่อนที่จะบวช เป็นภิกษุณี รวบ หญิง แต่งเหมือนภิกษุ อ้างตัวเป็นพระอรหันต์ (บทพระบาลีพร้อมแปล จากพระไตรปิฎก)

ครุธรรม ๘ ประการ

พระไตรปิฎก พระไตรปิฏก (บาลี-บาลีสยามรัฐ) เล่มที่ 07

พระวินัยปิฎก เล่ม ๗ จุลวรรค ภาค ๒ มี ๘ ขันธกะ

ว่าด้วยข้อบัญญัติปลีกย่อยเรื่องเสนาสนะ สังฆเภท วัตรต่างๆ การงดสวดปาฏิโมกข์ เรื่องภิกษุณี เรื่องสังคายนาครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ ข้อที่ 516

[๕๑๖]   สเจ   อานนฺท   มหาปชาปตี   โคตมี  อฏฺฐ  ครุธมฺเม
ปฏิคฺคณฺหาติ    สา    วสฺสา    โหตุ   อุปสมฺปทา   วสฺสสตุปสมฺปนฺนาย
ภิกฺขุนิยา   ตทหุปสมฺปนฺนสฺส   ภิกฺขุโน   อภิวาทนํ  ปจฺจุฏฺฐานํ  อญฺชลิ-
กมฺมํ  สามีจิกมฺมํ     กาตพฺพํ     อยมฺปิ     ธมฺโม    สกฺกตฺวา    ครุกตฺวา
มาเนตฺวา   ปูเชตฺวา   ยาวชีวํ   อนติกฺกมนีโย  น  ภิกฺขุนิยา  อภิกฺขุเก
อาวาเส    วสฺสํ    วสิตพฺพํ    อยมฺปิ   ธมฺโม   สกฺกตฺวา   ครุกตฺวา
มาเนตฺวา   ปูเชตฺวา   ยาวชีวํ   อนติกฺกมนีโย   อนฺวฑฺฒมาสํ  ภิกฺขุนิยา
ภิกฺขุสงฺฆโต     เทฺว     ธมฺมา     ปจฺจาสึสิตพฺพา    อุโปสถปุจฺฉกญฺจ
โอวาทุปสงฺกมนญฺจ   อยมฺปิ   ธมฺโม   สกฺกตฺวา   ครุกตฺวา   มาเนตฺวา
ปูเชตฺวา   ยาวชีวํ  อนติกฺกมนีโย  วสฺสํ  วุฏฺฐาย  ภิกฺขุนิยา  อุภโต-
สงฺเฆ  ตีหิ   ฐาเนหิ   ปวาเรตพฺพํ   ทิฏฺเฐน   วา   สุเตน   วา  ปริสงฺกาย
วา    อยมฺปิ    ธมฺโม   สกฺกตฺวา   ครุกตฺวา   มาเนตฺวา   ปูเชตฺวา
ยาวชีวํ   อนติกฺกมนีโย   ครุธมฺมํ   อชฺฌาปนฺนาย  ภิกฺขุนิยา  อุภโตสงฺเฆ
ปกฺขมานตฺตํ     จริตพฺพํ    อยมฺปิ     ธมฺโม    สกฺกตฺวา    ครุกตฺวา
มาเนตฺวา   ปูเชตฺวา   ยาวชีวํ   อนติกฺกมนีโย   เทฺว   วสฺสานิ   ฉสุ
ธมฺเมสุ     สิกฺขิตสิกฺขาย     สิกฺขมานาย    อุภโตสงฺเฆ    อุปสมฺปทา
ปริเยสิตพฺพา   อยมฺปิ  ธมฺโม  สกฺกตฺวา  ครุกตฺวา  มาเนตฺวา  ปูเชตฺวา
ยาวชีวํ    อนติกฺกมนีโย    น   ภิกฺขุนิยา   เกนจิ   ปริยาเยน   ภิกฺขุ
อกฺโกสิตพฺโพ    ปริภาสิตพฺโพ    อยมฺปิ   ธมฺโม   สกฺกตฺวา   ครุกตฺวา
มาเนตฺวา    ปูเชตฺวา   ยาวชีวํ   อนติกฺกมนีโย   อชฺชตคฺเค   โอวโฏ
ภิกฺขุนีนํ    ภิกฺขูสุ   วจนปโถ   อโนวโฏ   ภิกฺขูนํ   ภิกฺขุนีสุ   วจนปโถ
อยมฺปิ   ธมฺโม   สกฺกตฺวา   ครุกตฺวา   มาเนตฺวา   ปูเชตฺวา  ยาวชีวํ
อนติกฺกมนีโย   สเจ   ปนานนฺท   ๑  มหาปชาปตี  โคตมี  อิเม  อฏฺฐ
ครุธมฺเม ปฏิคฺคณฺหาติ สา วสฺสา โหตุ อุปสมฺปทาติ ฯ

ครุธรรม ๘ ประการ
 [๕๑๖] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรอานนท์ ถ้าพระนางมหาปชาบดี โคตมี ยอมรับ
ครุธรรม ๘ ประการ ข้อนั้นแหละ จงเป็นอุปสัมปทาของพระนาง    คือ:
       ๑. ภิกษุณีอุปสมบทแล้ว ๑๐๐ ปี ต้องกราบไหว้ ลุกรับ ทำอัญชลีกรรม  สามีจิกรรม
แก่ภิกษุที่อุปสมบทในวันนั้น ธรรมแม้นี้ ภิกษุณีต้องสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไม่ละเมิด
ตลอดชีวิต
       ๒. ภิกษุณีไม่พึงอยู่จำพรรษาในอาวาสที่ไม่มีภิกษุ ธรรมแม้นี้ ภิกษุณีต้องสักการะ เคารพ
นับถือ บูชา ไม่ละเมิดตลอดชีวิต
       ๓. ภิกษุณีต้องหวังธรรม ๒ ประการ คือ ถามวันอุโบสถ ๑ เข้าไปฟัง  คำสั่งสอน ๑ จาก
ภิกษุสงฆ์ทุกกึ่งเดือน ธรรมแม้นี้ ภิกษุณีต้องสักการะ เคารพ   นับถือ บูชา ไม่ละเมิดตลอดชีวิต
๔. ภิกษุณีอยู่จำพรรษาแล้ว ต้องปวารณาในสงฆ์สองฝ่าย โดยสถานทั้ง    ๓ คือ โดยได้
เห็น โดยได้ยิน หรือโดยรังเกียจ ธรรมแม้นี้ ภิกษุณีต้องสักการะ   เคารพ นับถือ บูชา ไม่ละเมิด
ตลอดชีวิต
       ๕. ภิกษุณีต้องธรรมที่หนักแล้ว ต้องประพฤติปักขมานัตในสงฆ์ ๒ ฝ่าย  ธรรมแม้นี้
ภิกษุณีต้องสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไม่ละเมิดตลอดชีวิต
       ๖. ภิกษุณีต้องแสวงหาอุปสัมปทาในสงฆ์ ๒ ฝ่าย เพื่อสิกขมานาผู้มีสิกขา อันศึกษาแล้ว
ในธรรม ๖ ประการครบ ๒ ปีแล้ว ธรรมแม้นี้ ภิกษุณีต้องสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไม่ละเมิด
ตลอดชีวิต
       ๗. ภิกษุณีไม่พึงด่า บริภาษภิกษุ โดยปริยายอย่างใดอย่างหนึ่ง ธรรม แม้นี้ ภิกษุณีต้อง
สักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไม่ละเมิดตลอดชีวิต
       ๘. ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ปิดทางไม่ให้ภิกษุณีทั้งหลายสอนภิกษุ เปิดทาง ให้ภิกษุทั้งหลาย
สอนภิกษุณี ธรรมแม้นี้ ภิกษุณีต้องสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไม่ละเมิดตลอดชีวิต
       ดูกรอานนท์ ก็ถ้าพระนางมหาปชาบดีโคตมี ยอมรับครุธรรม ๘ ประการนี้   ข้อนั้นแหละ
จงเป็นอุปสัมปทาของพระนาง ฯ

เครดิต ภาพ ไลน์ และ ข่าวสด 29/04/2021





วันอังคารที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2564

ภาษาบาลี พร้อมความหมาย ทำไมต้องเรียนบาลี กับ วิปัสนาชุนี แค่คำนำก็สนุกแล้ว

วิปัสสนากรรมฐานเบื้องต้น ในวิปัสนาชุนี ภาษาบาลี พร้อมคําแปล

นี่แค่เริ่มต้น กับ หลายคำถาม ที่วิปัสสนาชุนี มีคำตอบ เพื่อคลายข้อสงสัยว่าทำไมจึงต้องศึกษาภาษาบาลี
เพื่อคลายปมในใจ เพื่อให้ใจหนักแน่นไม่คลอนแคลน ก่อนศึกษาพระธรรม และ น้อมนำไปปฏิบัติ
โปรดลด เสียง เมื่อใช้ หูฟัง หรือ เครื่องขยายเสียง (อัดเสียงด้วยไมค์ คุณภาพสูง) 



วันศุกร์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2564

ภาษาบาลี พร้อมความหมาย วันละประโยค จงอย่าประมาทเลย จากพระไตรปิฎก และ หนังสือ วิปัสนาชุนี

 ปริเฉทที่ ๑ ไม่ต้องเสียใจ อย่าเสียดายโอกาส อย่าได้ประมาทเลย

ประโยคเต็มที่

ฌายถ ภิกฺขเว มา ปมาทตฺถ

มา ปจฺฉา วิปฺปฏิสาริโน อหุวตฺถ

อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี.

(.มู. /๑๖๗)

คำแปลศัพท์ทีละคำ

ฌายถ ตรึก เพ่ง ไหม้ (อยู่) (ย่อม) ตรึก เพ่ง ไหม้ (จะ) ตรึก เพ่ง ไหม้

ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต

เฌธาตุ อปัจจัย วัตตมานาวิภัตติ ฌาย

ปรัสบท พหุ มัชฌิม


ภิกฺขเว นาม ปุง. กลุ่ม ภิกฺขุ ศัพท์เดิม ภิกฺขุ ภิกษุ

อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ภิกษุ ทั้งหลาย คำการร้องเรียก

อาลปนะ


มา ๑ นิ. อย่า ใช้ปฏิเสธธาตุที่ประกอบด้วยวิภัตติ ๔ หมวด คือ ๑. หมวดปัญจมี เช่น มา กโรตุ จงอย่ากระทำ ๒. หมวดสัตตมี เช่น มา อาหเรยฺยาสิ อย่าพึงนำมา ๓. หมวดหิยัตตนี เช่น มา อวจ อย่าได้กล่าวแล้ว ๔. หมวด อัชชัตตนี เช่น มา กริ อย่ากระทำแล้ว

๒ อย่าน่ะ


ปมาทตฺถ ประมาท (แล้ว)

ประจักษ์ต่ออินทรีย์ หรือไม่ประจักษ์ ก็ตาม

ปอุปสัค+มทฺธาตุ+อปัจจัย+ หิยยัตตนีวิภัตติ ปมาท อดีตล่วงแล้วเมื่อวานนี้

ปรัสบท พหุ มัชฌิม

อยู่ในประโยคที่มี "มา" นิบาต หิยัตตนี และ อัชชตนี จะใช้ในอรรถเดียวกับปัญจมีวิภัติ (ไม่ใช้ในอรรถอดีตกาลปกติของตน)


ปจฺฉา นิ. ในภายหลัง เป็นนิบาตมีเนื้อความต่างๆ เช่น ปจฺฉา วินยธโร ตตฺถ ปวิฏฺโ อ. พระวินัยธร เข้าไปแล้ว ในซุ้มแห่งนํ้านั้น ในภายหลัง [. :โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า ๔๙]


วิปฺปฏิสาริโน นาม ปุง. กลุ่ม ทณฺฑี ศัพท์เดิม วิปฺปฏิสารี ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ

ปฐมา พหุ. อันว่าผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ ทั้งหลาย ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ ทั้งหลาย คำการร้องเรียก

อาลปนะ

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

จตุตถี เอก. แก่, เพื่อ, ต่อ ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ เป็นผู้รับ

สัมปทาน

ฉัฏฐี เอก. แห่ง, ของ, เมื่อ ผู้มีความเดือดร้อน เสียใจ แสดงความเป็นเจ้าของ หรือ อาการกริยาการเป็นเจ้าของ

สมูหสัมพันธะ สามีสัมพันธะ อนาทร


อหุวตฺถ (ได้) มี เป็น (แล้ว)

อดีตล่วงแล้วเมื่อวานนี้

ประจักษ์ต่ออินทรีย์ หรือไม่ประจักษ์ ก็ตาม

ออาคม + หูธาตุ + หิยยัตตนีวิภัตติ อหุว

ปรัสบท พหุ มัชฌิม อัตตโนบท เอก ปฐม

อยู่ในประโยคที่มี "มา" นิบาต หิยัตตนี และ อัชชตนี จะใช้ในอรรถเดียวกับปัญจมีวิภัติ (ไม่ใช้ในอรรถอดีตกาลปกติของตน)


อยํ ๑ อิม ปุง. กลุ่ม อิม ศัพท์เดิม อิม นี้

ปฐมา เอก. อันว่านี้ ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

๒ อิม อิต. กลุ่ม อิม ศัพท์เดิม อิม นี้

ปฐมา เอก. อันว่านี้ ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

๓ นาม ปุง. นปุง กลุ่ม มน ศัพท์เดิม อย เหล็ก

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ เหล็ก กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


โว ท่าน เธอ คุณ (อลิงคนาม)

ห้ามเรียงต้นประโยค

สัพ. ปฐมา ทุติยา ตติยา จตุตฐี ฉัฐถี พหุ


อมฺหากํ ๑ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน

อมฺหสทฺทปทมาลา

พหุวจน ทุติยา จตุตถี ฉัฏฐี

แปลง อมฺห กับวิภัตตินั้น เป็นรูปนั้นๆ

เม, โน เมื่อมีบทอื่นนำหน้า จึงใช้เรียงในประโยคได้

แปลง อมฺห เป็น อสฺม และแปลง นํ วิภัตติเป็น อากํ

๒ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน (อลิงคนาม)

อมฺห สัพ. ทุติยา จตุตฐี ฉัฏฐี พหุ


อนุสาสนี นาม ปุง. กลุ่ม ทณฺฑี ศัพท์เดิม อนุสาสนี อนุสาสนี

ปฐมา เอก. อันว่าคำสอนในศาสนา อนุสาสนี ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

ปฐมา พหุ. อันว่าคำสอนในศาสนา อนุสาสนี ทั้งหลาย ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ คำสอนในศาสนา อนุสาสนี ทั้งหลาย คำการร้องเรียก

อาลปนะ

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ คำสอนในศาสนา อนุสาสนี ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม



ความต่าง ระหว่าง ตฺถ หิยัตตนี กับ ตฺถ อชฺชตนี

ตฺถ หิยตฺตนี จะอยู่หลังสระ "" เช่นอคมตฺถ

ตฺถ อชฺชตนี จะอยู่หลังสระ "อิ" (หรือ อุ บ้าง) เช่น อคมิตฺถ อคมุตฺถ

แปลประโยคเต็ม โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ ธรรมดา

ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย (ตุมเห เธอทั้งหลาย)

ฌายถ จงเพ่ง (จงเจริญทั้งสมถะ และ วิปัสสนากัมมัฏฐาน)

มา ปมาทตฺถ อย่าได้ประมาทเลย

มา อหุวตฺถ อย่าได้เป็น วิปฺปฏิสาริโน ผู้เสียใจ ปจฺฉา ในภายหลัง

อยํ นี้ อนุสาสนี เป็นโอวาท อมฺหากํ ของเรา โว สำหรับพวกเธอ




วันอังคารที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564

ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี ปริเฉทที่ ๑ โอกาสทองกับธรรม อันทรงคุณค่า

โอกาสทองกับธรรม อันทรงคุณค่า

ประโยคเต็มที่ ๒

อชฺเชว กิจฺจมาตปฺปํ โก ชญฺญา มรณํ สุเว

น หิ โน สงฺครํ เตน มหาเสเนน มจฺจุนา

(.อุ. ๑๓/๒๖๒)

คำแปลศัพท์ทีละคำ

อชฺเชว

ในวันนี้นั่นเทียว

อชฺช+เอว

อชฺช อัพ. วันนี้ มาจาก อิม ศัพท์ ลง ชฺช ปัจจัย แปลง อิม เป็น อ สำเร็จรูปเป็น อชฺช ใช้เป็น ประธาน แปลว่า อ. วันนี้ ใช้เป็นสัตตมีวิภัตติ แปลว่า ในวันนี้

กิจฺจมาตปฺปํ

.ความเพียร อันบุคคล พึงกระทำ

กิจฺจํ+อาตปฺปํ

โก

.ปุง. ใคร, อะไร, ไหน

กึสทฺทปทมาลา ปฐมา เอก

ชญฺญา

. พึงรู้, ควรรู้ โดยมีบทวิเคราะห์ว่า

โก ชญฺญา มรณํ สุเว อ.ใคร พึงรู้ ซึ่งความตาย ในวันพรุ่งนี้

มรณํ

นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม มรณ ความตาย

ปฐมา เอก. อันว่าความตาย ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ความตาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม

สุเว

ในวันพรุ่งนี้

๑ นิ. ไม่, หามิได้ เป็นนิบาตบอกปฏิเสธ แปล พร้อมกับกิริยาหรือนามศัพท์ ให้แปลว่า ไม่ แปล พร้อมกับกิริยา เช่น น กเถสิ = ไม่กล่าวแล้ว แปล พร้อมกับนามศัพท์ เช่น น จิรสฺส = ต่อกาลไม่นาน ถ้าแปลทีหลังกิริยาหรือนามศัพท์ ให้แปลว่า หามิได้ แปลหลังกิริยา เช่น น กิลมนฺติ = ย่อม ลำบาก หามิได้ แปลหลังนามศัพท์ เช่น น อสฺโส = เป็นม้า หามิได้

๒ แทนเลข ศูนย์

หิ

จริงอยู่ ก็ เพราะว่า ดังจะกล่าวโดยพิสดาร

(อย่างน่าสงสารที่สุด)

นิบาต ได้แก่ (หิ จ) ปน ศัพท์ที่แปลว่า ก็ ซึ่งวางไว้ตำแหน่งที่ ๒ หรือ ๓ ก็ได้

โน

๑ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน

ห้ามเรียงต้นประโยค

อมฺหสทฺทปทมาลา

พหุวจนะ ปฐมา ทุติยา ตติยา จตุตถี ฉัฏฐี

แปลง อมฺห กับวิภัตตินั้น เป็นรูปนั้นๆ

เม, โน เมื่อมีบทอื่นนำหน้า จึงใช้เรียงในประโยคได้

แปลง อมฺห เป็น อสฺม และแปลง นํ วิภัตติเป็น อากํ

๒ ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน (อลิงคนาม)

อมฺห สัพ. ปฐมา ทุติยา ตติยา จตุตฐี ฉัฏฐี พหุ

สงฺครํ

๑ ประณีประนอม

๒ ท่านแสดงไว้ในอรรถ ๖ อย่าง คือ () มิตตาการะ การทำตัวเหมือนมิตร () ลัญชทานะ การให้สินบน () พลราสิ หมู่พล () วิปัตติ ความวิบัติ () ยุทธะ การรบ () ปฏิญญา การรับรอง

อ้างอิง

๑ วิปัสสนาชุนี อ.จำรูญ ธรรมดา

๒ อภิธานวรรณา พม.สมปอง มุทิโต

เตน

(อันผู้มีปัญญา อันผู้ฉลาด)นั้น

๒ นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม ต นั้น

ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ

กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)

๓ เพราะเหตุนั้น

๔ เขา ปุริสสัพนาม ต ศัพท์ ปุง ตติยา เอก วจนะ

เขา ปุริสสัพนาม ต ศัพท์ นปุง ตติยา เอก วจนะ

๕ ต ศัพท์ ปุง ศัพท์เดิม ต นั้น

ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ

กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)

๕ ต ศัพท์ นปุง ศัพท์เดิม ต นั้น

ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง นั้น เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ

กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)

มหาเสเนน

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม มหาเสน ผู้มีสมุนเสนามากมาย มีบริวารมาก

ตติยา เอก. ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง ผู้มีสมุนเสนามากมาย มีบริวารมาก เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ หน้าที่ หรือ ความสามารถ

กรณะ ตติยาวิเสสนะ อนภิหิตกัตตา ตติยาวิเสสนะ เหตุ อิตถัมภูตะ (ถ้าตามด้วย สทฺธึ จะเรียกว่า สหตฺถตติยา)

มจฺจุนา

จากความตาย กับพญามัจจุราช

มีบทวิเคราะห์ว่า น เต มุจฺจนฺติ มจฺจุนา อ.สัตว์ ท.เหล่านั้น ย่อมไม่พ้น จากความตาย



แปลประโยคเต็ม โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ ธรรมดา

โก ใครเล่า ชญฺญา จักพึงรู้ (ชีวิตํ วา) มรณํ วา ว่าจักเป็นหรือจักตาย สุเว ในวันพรุ่งนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น กิจฺจํ พึงกระทำ อาตปฺปํ ซึ่งการเจริญวิปัสนา อชฺเชว ในวันนี้เทียว

หิ ด้วยว่า สงฺครํ การประณีประนอม เตน มจฺจุนา กับพญามัจจุราช มหาเสเนน ผู้มีสมุนเสนามากมาย นตฺถิ ย่อมไม่มี โน แก่พวกเรา (ตสฺสมา เพราะเหตุนั้น โก ใครเล่า ชญฺญา จักพึงรู้ สุเว มรณํ ว่าจะตายในวันพรุ่งนี้)




เครดิตภาพยนตร์ พิภพมัจจุราช

วันพุธที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2564

ภาษาบาลี วันละประโยค จากหนังสือ วิปัสสนาชุนี ปริเฉทที่ ๑ คติธรรมกับศีลวิสุทธิ ประโยคเต็มที่ ๑

 ปริเฉทที่ ๑ คติธรรมกับศีลวิสุทธิ ประโยคเต็มที่ ๑

โย สาสนํ อรหตํ อริยานํ ธมฺมชีวินํ

ปฏิกฺโกสติ ทุมฺเมโธ ทิฏฺฐึ นิสฺสาย ปาปิกํ

ผลานิ กฏฺฐกสฺเสว อตฺตฆาตาย ผลฺลติ

โย

๑ ใด อย่าง ทุกอย่าง

คำกลุ่มเดียวกัน โกจิ

+ กึ + จิ สทฺทปทมาลา (ปุงลิงค์) ปฐมา เอก.

กึสทฺทปทมาลา (ใคร, อะไร, ไหน) ปุงลิงค์

กึสทฺทปทมาลา (อะไร, ไหน) นปุงสกลิงค์

๒ นาม ปุง. กลุ่ม ย ศัพท์เดิม ย ใด

ปฐมา เอก. อันว่าใด ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน


สาสนํ

นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม สาสน พระศาสนา ข่าวสาส์น

ปฐมา เอก. อันว่าพระศาสนา ข่าวสาส์น ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ พระศาสนา ข่าวสาส์น กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


อรหตํ

๑ นาม ปุง. กลุ่ม คจฺฉนฺต ศัพท์เดิม อรหนฺต พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส

จตุตถี พหุ. แก่, เพื่อ, ต่อ พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส ทั้งหลาย เป็นผู้รับ

สัมปทาน

ฉัฏฐี พหุ. แห่ง, ของ, เมื่อ พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส ทั้งหลาย แสดงความเป็นเจ้าของ หรือ อาการกริยาการเป็นเจ้าของ

สมูหสัมพันธะ สามีสัมพันธะ อนาทร

๒ นาม นปุง. กลุ่ม คจฺฉนฺต ศัพท์เดิม อรหนฺต พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส

จตุตถี พหุ. แก่, เพื่อ, ต่อ พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส ทั้งหลาย เป็นผู้รับ

สัมปทาน

ฉัฏฐี พหุ. แห่ง, ของ, เมื่อ พระอรหันต์ ผู้ไกลจากกิเลส ทั้งหลาย แสดงความเป็นเจ้าของ หรือ อาการกริยาการเป็นเจ้าของ

สมูหสัมพันธะ สามีสัมพันธะ อนาทร


อริยานํ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม อริย พระอริยเจ้า

จตุตถี พหุ. แก่, เพื่อ, ต่อ พระอริยเจ้า ทั้งหลาย เป็นผู้รับ

สัมปทาน

ฉัฏฐี พหุ. แห่ง, ของ, เมื่อ พระอริยเจ้า ทั้งหลาย แสดงความเป็นเจ้าของ หรือ อาการกริยาการเป็นเจ้าของ

สมูหสัมพันธะ สามีสัมพันธะ อนาทร


ธมฺมชีวินํ

นาม ปุง. กลุ่ม ทณฺฑี ศัพท์เดิม ธมฺมชีวี ผู้มีปกติเป็นอยู่ด้วยธรรม

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ผู้มีปกติเป็นอยู่ด้วยธรรม กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


ปฏิกฺโกสติ

๑ ปฏิ + โกสติ (ย่อมด่าตอบ)

๒ ด่าตอบ คัดค้าน (อยู่) (ย่อม) ด่าตอบ คัดค้าน (จะ) ด่าตอบ คัดค้าน

ปัจจุบันแท้ ปัจจุบันใกล้อดีต ปัจจุบันใกล้อนาคต

ปฏิ (ปติ) อุปสัค + กุสฺ ธาตุในการด่า + + วัตตมานาวิภัตติ ปฏิกฺโกส

ปรัสบท เอก ปฐม


ทุมฺเมโธ

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม ทุมฺเมธ ว. ผู้มีปัญญาทราม

ปฐมา เอก. อันว่าว. ผู้มีปัญญาทราม ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน


ทิฏฺฐึ

นาม อิตถี กลุ่ม รตฺติ ศัพท์เดิม ทิฏฺฐิ ความเห็น

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ความเห็น กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


นิสฺสาย

๑ อาศัยแล้ว

นิ + สิ เสวายํ ในการเสพ + ตฺวา

๒ ก. อาศัยแล้ว, เพราะอาศัย, พิง นิ + สี ธาตุ ในความอาศัย + ตูนาทิปัจจัย ซ้อน สฺ หน้า ธาตุ รัสสะ อี แห่ง สี ธาตุ เป็น อิ แปลง อิ เป็น เอ แล้วแปลง เอ เป็น อา แปลงตูนาทิปัจจัยเป็น ย สำเร็จรูปเป็น นิสฺสาย


ปาปิกํ

นาม อิตถี กลุ่ม กญฺญา ศัพท์เดิม ปาปิกา ว. ชั่วช้า

ทุติยา เอก. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ว. ชั่วช้า กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม


ผลานิ

นาม นปุง. กลุ่ม จิตฺต ศัพท์เดิม ผล ผล, ผลไม้

ปฐมา พหุ. อันว่าผล, ผลไม้ ทั้งหลาย ประธาน

สุทธกัตตา สยกตฺตา อภิหิตกตฺตา ปกติกตฺตา สปฺปธาน

อาลปนะ พหุ. แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่, โอ ผล, ผลไม้ ทั้งหลาย คำการร้องเรียก

อาลปนะ

ทุติยา พหุ. ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ผล, ผลไม้ ทั้งหลาย กรรมในประโยค

อวุตตกัมมะ สัมปาปุณียกัมมะ การิตกัมมะ อัจจันตสังโยคะ อัจจันตสังโยคะ อกถิตกมฺม



กฏฺฐกสฺเสว

กฎฺฐกสฺส + อิว (ราวกับว่า)

กฎฺฐกสฺส ของไม้ (ในที่นี้คือไม้ไผ่ เนื่องจากเป็นผลไม้ชนิดเดียวที่ เมื่อออกดอกแล้ว ต้นจะตายลงไป)


อตฺตฆาตาย

นาม ปุง. กลุ่ม ปุริส ศัพท์เดิม อตฺตฆาต ฆ่าตนเอง

จตุตถี เอก. แก่, เพื่อ, ต่อ ฆ่าตนเอง เป็นผู้รับ

สัมปทาน


ผลฺลติ

ให้ผลผลิต

แปลประโยคเต็ม โดย ท่านอาจารย์ จำรูญ

โย ทุมฺเมโธ ผู้มีปัญญาทรามใด นิสฺสาย อาศัยแล้ว ทิฏฺฐึ ซึ่งความเห็น ปาปิกํ อันชั่วช้า ปฏิกฺโกสติ ย่อมปฏิเสธ สาสนํ ซึ่งคำสอน อรหตํ ของพระพุทธเจ้าผู้ควรกราบไหว้บูชา อริยานํ ผู้ปราศจากกิเลส ธมฺมชีวินํ ผู้เลี้ยงชีพโดยธรรม

ตํ ปฏิกฺโกสานํ จ สา จ ทิฏฺฐิ ก็แล ทั้งการปฏิเสธ และ ความเห็นดังกล่าว ตสฺส ของผู้นั้น โหนฺติ ย่อมเป็น ผลานิ อิว ราวกับว่า ผล(ขุยไผ่) กฏฺฐกสฺส ของไม้ไผ่ (ผลฺเลนตา ที่เผล็ดออกมา อตฺตฆาตาย เพื่อทำลายตนเอง ฉันใด) โส ผู้ปฎิเสธคำสอนนั้น ผลฺลติ ย่อมเผล็ด ตาทิสํ ผลํ ซึ่งผลกล่าวคือทิฏฐิและการกระทำเช่นนั้น อตฺตฆาตาย เพื่อทำลายตนเอง ฉันนั้น



มหาสีสยาดอ